Page 54 - CultureMag2015-1
P. 54

ทาน

ค�าว่า “บุญ” กลายเป็นค�าไทยไปโดยปริยาย ทัง้  ๆ ที่ค�านี้มี                   บุญอย่างแรกคือการให้ “ทาน”  หากเรายังมีความ
ทมี่ าจากภาษาบาลีว่า “ปญุ ฺญ” แปลว่าเครือ่ งช�าระจิตใจให้             โลภยึดติดอยู่ย่อมไม่สามารถทีจ่ ะให้ทานแก่คนอืน่ ได้ “ทาน” 
สะอาดบริสุทธ ิ์  บุญจึงเป็นเครื่องก�าจัดสิง่ เศร้าหมองทเี่ รียก       จงึ เป็นบุญเพราะว่ากา� จัด “ความโลภ” ลงได ้
ว่ากิเลสหรือ “บาป” ทภี่ าษาไทยขอยืมค�ามาจากภาษาบาลี
ว่า “ปาปํ” นัน่ เอง  บุญกับบาปจึงเป็นสิง่ คู่กันในฐานะทบี่ ุญ                เมือ่ พูดถึงประเด็นเรื่อง “บุญ” และ “ทาน” เราอาจ
เปน็ เคร่อื งกา� จดั บาป  และในทางตรงกนั ขา้ มบาปกเ็ ปน็ เครอ่ื ง     เคยไดย้ นิ คนโบรา่� โบราณพดู ตอ่ ๆ กนั มาวา่  “ท�าบญุ แลว้ กต็ อ้ ง
ก�าจดั บุญเชน่ กนั                                                    ท�าทานด้วยนะ” ประโยคดังกล่าวทา� ให้คนไทยส่วนใหญ่ 
                                                                      ได้รับการปลูกฝังให้เข้าใจว่าการท�าบุญต่างจากการท�าทาน 
       บุญและบาปเป็นธรรมชาตทิ ีม่ ีอยู่คู่สัตว์โลก ใน                 กล่าวคือ การท�าบุญหมายถึงการให้แก่พระภิกษุสงฆ์ 
ศาสนาอ่ืนๆ กม็ คี วามเช่อื ในเรอ่ื งบญุ และบาปอยเู่ ชน่ เดยี วกนั     ส่วนการทา� ทานคือการให้คนยากคนจน เด็กก�าพร้า และ 
แตอ่ าจจะมคี วามเขา้ ใจและนยิ ามท่แี ตกตา่ งกนั ไปตามคา� สอน          สตั ว์เดรจั ฉาน เป็นตน้
ของแต่ละศาสนา ว่าจะมีความเข้าใจในเรื่องบุญและบาปนัน้
อยา่ งไร                                                                     ท้ังๆ ทีใ่ นความเป็นจริงแล้วการให้แก่พระภิกษุสงฆ์
                                                                      และการให้แก่คนยากคนจนต่างก็เป็นทานกุศล คือเป็นการ
       หากกลา่ วตามบรบิ ทของพระพทุ ธศาสนา การทา� บญุ                  ท�าบุญอย่างเดียวกัน  อย่างไรก็ตามทานจะเป็นบุญมากหรือ
ทีค่ รบถ้วนสมบูรณ์ทคี่ นไทยรู้จักกันดีก็คือการท�าทาน รักษา            นอ้ ยนน้ั ไมไ่ ดข้ น้ึ อยกู่ บั วา่ เราใหท้ านมากจนหมดตวั  (เหมอื นท่ี
ศลี  เจรญิ ภาวนา ดงั ท่พี ระคณุ เจา้ หรอื ปยู่ า่ ตายายสอนกนั ตอ่ ๆ   วดั หลายวดั สอน) จงึ จะเปน็ บญุ   ตรงกนั ขา้ มหากเกดิ ความโลภ 
มา จนเราคุ้นหูเป็นอย่างดีว่าเป็นการทา� บุญ  แต่ในปัจจุบัน             ในการให้ทานเพราะหวังผลตอบแทน เช่น อยากถูกหวย 
การทา� บุญทีค่ นไทยส่วนใหญ่เคยเข้าใจดีเริม่ แปรเปลี่ยนไป              รวยหนุ้  อยากใหเ้ ขารวู้ า่ เราใจบญุ   การกระท�าเชน่ น้ไี มเ่ ปน็ บญุ  
จากการท�าบุญทเี่ คยเน้นในด้านนามธรรม หรือด้านการช�าระ                 หรือถ้าเป็นบุญก็ย่อมเป็นบุญทีน่ ้อยเพราะไม่ได้ก�าจัดกิเลส 
ล้างจิตใจให้สะอาดกลับกลายเป็นการเน้นไปทีว่ ัตถุหรือผล                 คือความโลภให้ลดลงแตอ่ ย่างใด กลับยิ่งส่งเสรมิ ความโลภให้
ของบุญเช่นความสบายใจมากกว่า ซึ่งไม่ใช่ตวั บุญโดยตรง                   เกิดมากข้นึ  จงึ ไมน่ บั เปน็ การท�าบุญในพระพุทธศาสนา 
แตอ่ ยา่ งใด 
                                                                             นอกจากนี้ในสังคมไทยยังเน้นการให้ทานด้วยวัตถุ
       แทจ้ รงิ แลว้ ส่งิ ท่ีเรยี กวา่  “บญุ ” กค็ อื ความสามารถใน    เสยี มาก แตต่ ามหลกั พระพทุ ธศาสนาน้นั  นอกจากการใหท้ าน
การก�าจัดความชัว่ ของมนุษย์ทีม่ ีอยู่สามอย่าง คือ ความโลภ             ด้วยทรัพย์แล้วยังมีการให้ทานโดยไม่ต้องเสียเงินและมี
ความโกรธ และความหลง หรอื เรยี กเปน็ ภาษาบาลวี า่  “โลภะ               อานิสงส์มากกว่าการใหว้ ัตถทุ าน นัน่ คอื การให ้ “อภยั ทาน” 
โทสะ โมหะ”
                                                                             การใหอ้ ภยั นน้ั เปน็ ทานท่ยี ่งิ ใหญก่ วา่ วตั ถทุ าน เพราะ
                                                                      นอกจากเปน็ การสละความโลภหรอื โลภะแลว้   การใหอ้ ภยั ทาน 
                                                                      ยงั เปน็ การสละความโกรธหรอื โทสะเพม่ิ ข้นึ อกี ดว้ ย  สว่ นทาน
                                                                      ท่มี อี านสิ งสม์ ากท่ีสดุ กค็ อื  “ธรรมทาน” หรอื การใหธ้ รรมะและ
                                                                      ความรู้ทไี่ ม่มีโทษ ท�าให้คนเกิดปัญญา นับเป็นบุญสูงทสี่ ุด 
                                                                      เพราะท�าลายโมหะหรอื ความโงง่ มงายออกไปได้  พระพทุ ธเจา้  
                                                                      จึงตรัสยกย่องการให้ธรรมทานเป็นภาษาบาลีว่า “สพฺพทาน� 
                                                                      ธมฺมทาน� ชินาติ” ซึ่งแปลว่า “การให้ธรรมะเป็นทานชนะ 
                                                                      การให้ทงั้ ปวง” เพราะปัญญาก็คือหัวใจของพระพุทธศาสนา 
                                                                      น่นั เอง

52 วฒั นธ รม
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59