Page 47 - CultureMag2015-1
P. 47

เริม่ เลน่                                                            ยอดนิยมของชาวสยามชนิดนี้ว่า “ใช้เท้ารับและส่งลูกด้วย
                                                                        ความคลอ่ งแคลว่ อยา่ งนา่ มหศั จรรย.์ ..ตามกฎถา้ ไมส่ ามารถรบั
      ตะกร้อไทยจัดเป็นสาแหรกหนึง่ ในเกม “บอล”                           ลูกด้วยเท้าได้ อาจใช้ศีรษะ ไหล่ หรือเข่าได้ แต่จะไม่มีการ 
(ลกู กลม) ท่เี ลน่ ดว้ ยเทา้ ท่วั โลก ใกลเ้ คยี งและคลา้ ยคลงึ กบั เกม  ใชม้ อื เลย”
ท่ีเลน่ ในภมู ภิ าคอาเซยี นกนั มาชา้ นาน ซง่ึ เรยี กวา่  “เซปกั รากา” 
ในมาเลเซีย สิงคโปร์ และอินโดนเี ซีย “ชินลง” ในพมา่  “สปิ า”                   ความนิยมแพร่หลายของตะกร้อวงทา� ให้มีการคิดค้น
ในฟลิ ปิ ปนิ ส์ และ “กะต้อ” ในลาว                                       การเตะตะกร้อด้วยรูปแบบแหวกแนวสืบต่อมา อาท ิ ตะกร้อ
                                                                        ชิงธง ตะกร้อพลิกแพลง หรือการติดตะกร้อตามร่างกาย
      จากหลักฐานแสดงแก่เราว่าชาวสยามแถบลุ่มน�า้                         ตะกร้อเตะทน ตะกร้อขา้ มตาขา่ ย รวมถงึ ตะกร้อลอดห่วง
เจ้าพระยาเล่นตะกร้อกันมาอย่างน้อยตัง้ แต่สมัยอยุธยา 
หรือราวพุทธศตวรรษท ี่ ๒๒  หลักฐานทกี่ ล่าวถึงผู้คนล้อมวง                      เท่าทีส่ ืบค้นกันมา พบว่าตะกร้อลอดห่วงเริม่ มีขึน้  
เตะลกู ตะกรอ้ ท่ีสานจากหวายเปน็ ลกู กลมเพ่อื ความผอ่ นคลาย              ครั้งแรกทีก่ รุงเทพฯ ในสมัยรัชกาลท ี่ ๗ ประมาณปี ๒๔๗๐ - 
ในแบบทีเ่ รียกว่า “ตะกร้อวง” มีอยู่ในบันทึกของบาทหลวง                   ๒๔๗๒ หลวงมงคลแมน (สังข์ บุรณะศิริ) ได้ริเริ่มน�าวิธีการ
อาเดรยี ง โลเนย ์ มชิ ชนั นารชี าวฝร่งั เศส ท่กี ลา่ วถงึ การละเลน่     เล่นตะกร้อวงผสมผสานกับท่าเตะพลิกแพลงต่างๆ ของการ
                                                                        เลน่ ตะกรอ้ เพม่ิ  “หว่ งชยั ” ท่ีคดิ ประดษิ ฐข์ น้ึ แขวนไวส้ งู จากพ้นื
                                                                        ตรงกลางสนามให้ผู้เล่นเตะป้อนลูกหวายกันไปมาเพื่อให้ลูก
                                                                        หวายลอดเข้าห่วง  ลูกทเี่ ข้าห่วงจะได้คะแนนตามท่าเตะซึ่งมี
                                                                        การกา� หนดคะแนนเอาไว ้  ทา่ เตะท่สี ง่ ลกู เขา้ หว่ งยง่ิ พลกิ แพลง
                                                                        ยากมากเท่าไรก็จะยง่ิ สะสมคะแนนได้มาก 

                                                                              ห่วงชัยตะกร้อยุคนัน้ ไม่เหมือนทีเ่ ราเห็นในปัจจุบัน 
                                                                        ด้วยรูปทรงเป็นห่วงโลหะสามอันเรียงติดกันตามแนวตั้ง 
                                                                        แต่ละห่วงมีความกว้างไม่เท่ากัน  ห่วงบนเป็นห่วงเล็ก 
                                                                        หว่ งกลางจะกวา้ งขน้ึ เลก็ นอ้ ย และหว่ งลา่ งสดุ มคี วามกวา้ งกวา่  
                                                                        ทุกห่วง เรียกว่า “ห่วงใหญ่”  ภายหลังได้มีการปรับเปลีย่ น 
                                                                        รูปทรงของห่วงชัยเป็นสามเส้าติดกัน ทงั้ สามห่วงมีขนาด
                                                                        เดียวกัน เส้นผ่านศูนย์กลาง ๕๐ เซนติเมตรตามมาตรฐานที่
                                                                        ใชแ้ ข่งขนั ในปจั จบุ นั

                                                                              เมื่อแรกเริม่ ตะกร้อลอดห่วงเล่นกันในลักษณะสาธิต
                                                                        และเผยแพร่วิธีการเล่น ต่อมาสมาคมกีฬาสยามได้จัดแข่งขัน
                                                                        เปน็ ครง้ั แรกในป ี ๒๔๗๔  ปถี ดั มาสมาคมกฬี าสยามไดจ้ ดั การ
                                                                        แขง่ ขนั กฬี าไทยหลายอยา่ ง อาทิ กฬี าวา่ ว ตะกรอ้ ขา้ มตาขา่ ย 
                                                                        ตะกร้อวงเล็ก ตะกร้อวงใหญ่ ตะกร้อชิงธง รวมถึงตะกร้อ 
                                                                        ลอดห่วง ทีท่ ้องสนามหลวง เป็นการเฉลิมฉลองรัฐธรรมนูญ
                                                                        ฉบับแรกของประเทศสยาม  หลังจากนั้นการเล่นและแข่งขัน
                                                                        ตะกร้อลอดหว่ งจงึ แพร่หลายไปยงั จงั หวัดต่างๆ ในภาคกลาง
                                                                        ดังข้อความจากหนังสือกีฬาพื้นเมืองของกรมพลศึกษากล่าว
                                                                        ถึงการเล่นตะกร้อลอดห่วงในจังหวัดนนทบุรี สมุทรสงคราม 
                                                                        สมุทรสาคร ในปี ๒๔๘๐ เป็นต้น  ปัจจุบันตะกร้อลอดห่วง 
                                                                        มีการเล่นและแขง่ ขนั กนั ทัว่ ประเทศ

                                                                                                               มกราคม-มนี าคม ๒๕๕๘ 45
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52