Page 12 - CultureMag2015-1
P. 12

นายกรัฐมนตรี เจ้าของสมญา “จอมพลตราไก่” ผู้จบ                   ถัดมาในวนั ที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๔๘๒ ก็มรี ัฐนิยมวา่ ดว้ ย
การศกึ ษาจากฝรง่ั เศส ยงั อธบิ ายความหมายของคา� วา่ อา� นาจ    ท�านองและเนือ้ ร้องเพลงชาติ เนื่องจากเมือ่ มีการเปลี่ยนชื่อ
มหาชน ไว้ในสุนทรพจน์ฉบบั เดยี วกนั ด้วยว่า                     ประเทศจาก “สยาม” เป็น “ไทย” ตามรัฐนิยมฉบับที ่ ๑ แล้ว 
                                                               จงึ ตอ้ งเปลย่ี นคา� เพลงชาตใิ หมใ่ หส้ อดคลอ้ งกนั  จาก “ประเทศ
      “อา� นาจมหาชนนน้ั แปรรปู มาจากมตมิ หาชน ซง่ึ เราเคย      สยามนามประเทืองว่าเมืองทอง...” เป็น “ประเทศไทยรวม
ได้ยินได้ฟังมาแล้ว หมายความว่าการทา� สิง่ ใดให้ด�าเนินตาม      เลือดเนอ้ื ชาติเชื้อไทย...”  
ความเห็นของส่วนมากของชาต ิ  ความเห็นดีเห็นชอบของ
ประชาชนส่วนใหญ่นัน้   ก่อให้เกิดอ�านาจมหาชนขึน้   อ�านาจ             เหล่านี้คือตัวอย่างบางส่วนของ “รัฐนิยม” ทนี่ ่าสนใจ
มหาชนนั้น สามารถท�าการปรับปรุงหรือปราบปรามกลุ่มชน              ว่าสามารถคงอยู่ยาวนานข้ามยุคข้ามสมัยมาจนถึงสังคมไทย
ส่วนนอ้ ยท่ียงั ว่านอนสอนยาก”                                  ปัจจบุ นั  ชนดิ ทเ่ี รยี กได้วา่  “เหนอื กาลเวลา” 

รฐั นิยม ๑๒ ฉบับ                                                     แต่ขณะเดียวกันรัฐนิยมอีกหลายฉบับก็เรียกได้ว่า
                                                               เป็นการ “ยุ่งวุ่นวายกับหัวหูผู้คน” เช่นรัฐนิยมฉบับทบี่ อกให้
      ในวันเดียวกันนัน้ เองคือ “วันชาติ” ๒๔ มิถุนายน           คนไทยแตง่ กายแบบ “ไทยอารยะ” อนั หมายความวา่  คนไทย
๒๔๘๓ ก็มีการประกาศรัฐนิยมฉบับที ่ ๑ เรื่องการใช้ชื่อ           ไม่ควรนุ่งโสร่ง เปลือยกายท่อนบน ใส่หมวกแขก โพกหัว 
ประเทศ ประชาชน และสญั ชาติ                                     ทนู ของบนศีรษะ ผู้หญิงควรไว้ผมยาว สวมเสื้อชัน้ นอกให้
                                                               สะอาดเรียบร้อย และนุ่งผ้าซิ่น (ผ้าถุง) รวมทัง้ รณรงค์ให้ทกุ
      สมัยนั้นผู้คนเรียกชื่อประเทศเป็นสองอย่าง คือใช้ทัง้      คนใส่หมวกตามค�าโฆษณาเชิญชวนทวี่ ่า “มาลาน�าไทยไปสู่
ค�าว่า ไทย และ สยาม  รัฐบาลระบุว่าเห็นว่าประชาชนนิยม           มหาอ�านาจ”
เรียก “ไทย” มากกว่า จึงเห็นสมควรถือเป็นรัฐนิยมให้ใช้ชือ่
ประเทศเป็น “ประเทศไทย” (THAILAND) ใช้ชือ่ ประชาชน                    การกา้ วกา่ ยกบั ชวี ติ ประจา� วนั ของผคู้ นในยคุ  “เช่อื ผนู้ า�  
และสัญชาตวิ ่า “ไทย” (THAI) พร้อมก�าหนดให้ใช้ค�านี้แก่         ชาตพิ น้ ภยั ” ยงั ปรากฏในลกั ษณะอน่ื ๆ อกี   เร่อื งท่ีคนจา� ไดด้ ี
ชาวไทยทงั้ มวลโดยไม่แบ่งแยกกัน  จากแต่ก่อนหน้านี้ซึง่ เคย      เชน่ กรณหี า้ มกนิ หมาก อนั เปน็ เร่อื งท่ีรฐั บาลยคุ น้นั มองวา่ เปน็
เรยี กแบง่ แยกเปน็ ไทยเหนอื  ไทยอสี าน ไทยใต ้ ไทยอสิ ลาม ให้  ความเสื่อมเสียอย่างร้ายแรง เป็นอันตรายแก่สุขภาพอนามัย
คงเหลือเพียง “ไทย” เท่าน้นั  เพ่อื ขจดั ความแตกต่าง            ท้ังของตนเองและสว่ นรวม เพราะคนท่ีบว้ นนา้� หมากเลอะเทอะ
                                                               ถอื เป็นผไู้ ม่มีวัฒนธรรม ไม่ปฏิบัติตามหนา้ ทีพ่ ลเมืองไทย
      รัฐนิยมฉบับท ี่ ๔ การเคารพธงชาติ เพลงชาติ และ
เพลงสรรเสริญพระบารมี ประกาศ ณ วันที ่ ๘ กันยายน                คา� ขวญั  คา� ขวญั  
๒๔๘๒ มีใจความว่า หลังจากรัฐบาลพิจารณาเห็นว่า ธงชาติ            คา� ขวญั  
เพลงชาต ิ และเพลงสรรเสริญพระบารมี เป็นสิ่งส�าคัญ พึงได้
รับความเชิดชู เคารพ  รัฐบาลจึงประกาศเป็นรัฐนิยมว่า เมือ่             หลังปี ๒๕๐๐ จอมพล ป. พิบูลสงคราม ก็พ้นไปจาก
ใดก็ตามทพี่ บเห็นการชักธงชาติขึ้นหรือลงจากเสา ให้ทกุ คน        ต�าแหน่งนายกรัฐมนตรี  หลังจากนั้นไม่นาน จอมพล สฤษด ิ์
แสดงความเคารพ โดยปฏิบัติตามระเบียบเครื่องแบบ หรือ              ธนะรชั ต ์ อดตี ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาของจอมพล ป. กก็ า้ วข้นึ สเู่ กา้ อ้ี
ตามประเพณนี ยิ ม                                               นายกรฐั มนตร ี

10 วัฒนธ รม
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17