Page 11 - CultureMag2015-1
P. 11
เช่อื ผนู้ า� ชาตพิ น้ ภยั
หลังจากคณะราษฎรเปลีย่ นแปลงการปกครองจาก
ระบอบสมบูรณาญาสิทธริ าชย์เป็นระบอบประชาธิปไตย
ในเดือนมิถุนายน ๒๔๗๕ จอมพล ป. พิบูลสงคราม
หนึ่งในสมาชิกคณะราษฎร ก้าวขึ้นสู่ต�าแหน่งนายกรัฐมนตรี
เม่อื ป ี ๒๔๘๑ เวลานน้ั สถานการณโ์ ลกกา� ลงั อยใู่ นภาวะวกิ ฤต
เค้าลางสงครามก่อตัวขึน้ แล้วในทวีปยุโรป ส่วนในเอเชีย
กองทัพญป่ี ุน่ เร่มิ แผแ่ สนยานุภาพ เปดิ สงครามกบั จีน
งานท่ีเดน่ ชดั ของนายกฯ ไทยคอื การขบั เคลอ่ื นประเทศ
สู่ “สังคมสมัยใหม่” หรือสร้าง “ความเป็นสากล” เพื่อให้
ทดั เทียมกบั ชาติมหาอ�านาจ
ท่ีส�าคัญคือรัฐบาลได้ออกประกาศค�าสั่งทเี่ รียกว่า
“รฐั นิยม” ข้นึ เป็นคร้งั แรก มเี น้ือหาว่าดว้ ยรปู แบบการปฏบิ ัติ
ตนทางวัฒนธรรมทจี่ ะแสดงให้เห็นถึงความเป็นชาติทมี่ ี
อารยธรรม เปน็ หลกั ใหพ้ ลเมืองได้ยดึ ถือปฏบิ ตั ิตาม
รัฐนิยมยุคจอมพล ป. ถูกประกาศออกมาทงั้ สิน้ ๑๒
ฉบับ ต่อเนือ่ งกัน ๔ ปี ตั้งแต่ปี ๒๔๘๒-๒๔๘๕ โดยมีการ
กา� หนดบทลงโทษสา� หรับผู้ทีไ่ ม่ปฏบิ ตั ติ ามดว้ ย
ในงานเฉลิมฉลองวันชาติเมือ่ ๒๔ มิถุนายน ๒๔๘๒
จอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้กล่าวสุนทรพจน์ออกอากาศ
ทางวิทยุกระจายเสียงไปทวั่ ประเทศ อธิบายความหมายของ
คา� ว่า “รัฐนิยม” วา่
“รฐั นยิ ม คอื การปฏบิ ตั ใิ หเ้ ปน็ ประเพณนี ยิ มท่ดี ปี ระจา�
ชาติ เพือ่ ให้บุตรหลานอนชุ นคนไทยเรายดึ ถือเปน็ หลักปฏิบตั ิ
รัฐนิยมนี้มีลักษณะและละม้ายคล้ายคลึงกับจรรยามรรยาท
ของอารยชนจะพงึ ประพฤตนิ ่นั เอง ในรฐั นยิ มยงั มพี ฤตกิ รรม
เพม่ิ พเิ ศษข้นึ อีกอย่างหน่งึ คืออ�านาจมหาชน”
มกราคม-มนี าคม ๒๕๕๘ 9