Page 46 - may53

Basic HTML Version

๔๔
ที่
ใช้
ในการเผยแพร่
ภาพยนตร์
ให้
กว้
างขวางออกไป เช่
เดี
ยวกั
บแท่
นพิ
มพ์
เป็
นเครื่
องมื
อที
ทำ
�ให้
ข้
อเขี
ยนแพร่
หลาย
เมื่
อโทรทั
ศน์
และภาพยนตร์
มิ
ใช่
ของเล่
นอี
กต่
ไปแล้
วเช่
นนี้
ทั้
งโทรทั
ศน์
และภาพยนตร์
จึ
งควรจะได้
รั
ความสนใจจากผู้
คน ให้
มากยิ่
งขึ้
นกว่
าแต่
ก่
อน”
อาจารย์
คึ
กฤทธิ์
แสดงความคิ
ดเห็
นโดยการ
เขี
ยนเรื่
องราวเหล่
านี้
ไว้
ตั้
งแต่
เมื่
อปี
พ.ศ. ๒๕๐๘ นั
เวลาก็
ได้
๔๕ ปี
มาแล้
ว ทุ
กวั
นนี้
ทั้
งโทรทั
ศน์
และ
ภาพยนตร์
เปลี่
ยนแปลงรู
ปแบบและเนื้
อหาไปจากเมื่
อยุ
สี่
สิ
บห้
าปี
ก่
อน อย่
างมากมายมหาศาล
แต่
ความรู้
ความเข้
าใจของคน โดยเฉพาะ
อย่
างยิ่
งคนไทย ไม่
ค่
อยเปลี่
ยนแปลงไปจากเดิ
มมากนั
หลายคนยั
งวิ
เคราะห์
ปั
ญหาวั
นนี้
ด้
วยความคิ
ดเมื่
สี่
สิ
บห้
าปี
ก่
อน เพราะฉะนั้
นการเผชิ
ญปั
ญหาหรื
อการ
แก้
ปั
ญหาของคนไทยในหลายๆ เรื่
อง จึ
งเป็
นอย่
าง
ที่
เห็
นและเป็
นอยู่
ในปั
จจุ
บั
ภาวการณ์
เหล่
านี้
เป็
นไปในทุ
กวงการ ไม่
เฉพาะแต่
แวดวงของภาพยนตร์
และโทรทั
ศน์
เท่
านั้
น ใครไม่
เชื่
อก็
หั
นไปดู
แวดวงอื่
นๆ อาทิ
การเมื
อง การศึ
กษา ดู
ก็
ได้
ว่
มั
นเปลี่
ยนแปลงและแปลกแยกไปเท่
าใด ...แต่
ข้
อเขี
ยน
วั
นนี้
เราจะจำ
�กั
ดเพี
ยงแค่
เรื่
องของหนั
ง หรื
อภาพยนตร์
เป็
นหลั
ก เราจึ
งจะทิ้
งเรื่
องอื่
นๆ ไปก่
อน แต่
มุ่
งเฉพาะ
การเรี
ยน - รู้
- เรื่
อง หนั
ของเรากั
นต่
อไป
อาจารย์
คึ
กฤทธิ์
มี
คำ
�อธิ
บายในเรื่
องของภาษาภาพ
ต่
อไปอี
กว่
“ผู้
ใหญ่
ทุ
กวั
นนี้
จะมี
ความรู้
แต่
เพี
ยงภาษาเขี
ยน
หรื
อภาษาพู
ดเท่
านั้
น เห็
นจะไม่
พอเสี
ยแล้
ว เนื่
องด้
วย
เด็
กทุ
กวั
นนี้
สนใจในภาษาภาพมากยิ่
งขึ้
น ผู้
ใหญ่
จึ
งควร
จะหาความรู้
และความเข้
าใจในภาษาภาพนั้
นด้
วย เพื่
ที่
จะสามารถสอนเด็
กในทางที่
ถู
กต้
องได้
ต่
อไป
เพราะการปล่
อยให้
เด็
กดู
ภาพได้
ตามใจ โดยเฉพาะ
อย่
างยิ่
งภาพยนตร์
โดยไม่
มี
ผู้
ใหญ่
คอยสั่
งสอน และ
แนะนำ
�นั้
น อาจเป็
นภั
ยต่
อเด็
ก และอาจเป็
นภั
ยต่
ออนาคต
ของสั
งคมไทยต่
อไปอี
กมาก
สิ่
งแรกที่
น่
าจะต้
องพิ
จารณา ก็
คื
อ ปั
ญหาความ
แตกต่
างระหว่
างภาพยนตร์
อั
นเป็
นภาษาอย่
างหนึ่
ง กั
ภาษาอื่
นๆ ที่
เคยใช้
กั
นมาก่
อน เช่
น ภาษาดนตรี
ภาษา
ศิ
ลปะ และภาษาแห่
งวรรณคดี
ที่
จะต้
องพิ
จารณาต่
อไปใน
เรื่
องนี้
ก็
คื
อ เราต้
องแสวงหาความรู้
ที่
เกี่
ยวกั
บภาษาภาพ
นี้
มากน้
อยเพี
ยงใด เราจึ
งสามารถเลื
อกเฟ้
น หรื
อวิ
จารณ์
ภาพยนตร์
อั
นเป็
นศิ
ลปะแขนงใหม่
นี้
ได้
และปั
ญหาสุ
ดท้
าย ที่
น่
าจะต้
องคำ
�นึ
งกั
นให้
มากๆ
ก็
คื
อ เราจะต้
องทำ
�อย่
างไร จึ
งจะทำ
�ให้
ความนิ
ยมและ
ความเข้
าใจในภาพยนตร์
ของเยาวชนของเราในทุ
กวั
นนี้
เป็
นปั
จจั
ยส่
งเสริ
ม ที่
จะทำ
�ให้
เยาวชนเหล่
านั้
นมี
ความรั
และความเข้
าใจในวรรณคดี
และศิ
ลปะของเรา ซึ่
งเคยมี
มาแต่
ก่
อนได้
ต่
อไป
วิ
ธี
ที่
ดี
ที่
สุ
ดในการทำ
�ความเข้
าใจในศิ
ลปะต่
างๆ ซึ่
ไม่
ว่
าจะเป็
นกวี
นิ
พนธ์
ภาพเขี
ยน ภาพปั้
น ละคร ฟ้
อนรำ
หรื
อดนตรี
ก็
คื
อ วิ
ธี
ปล่
อยให้
ศิ
ลปะต่
างๆเหล่
านั้
น ได้
มี
โอกาสพู
ดกั
บเราโดยตรง
เพราะฉะนั้
นทางที่
ดี
ที่
สุ
ดที่
จะทำ
�ให้
เราเข้
าใจ
ภาพยนตร์
ก็
จำ
�เป็
นต้
องใช้
วิ
ธี
เดี
ยวกั
น กล่
าวคื
อ เราจะ
ต้
องเปิ
ดหู
เปิ
ดตา และเปิ
ดหั
วใจของเราให้
เต็
มที่
เพื่
การรั
บฟั
งว่
า ภาพยนตร์
แต่
ละเรื่
อง จะมี
อะไรบอกแก่
เรา
ช่
างเขี
ยนภาพทุ
กคน มี
ความในใจที่
จะบอกกั
บคน
อื่
นผ่
านภาพที่
เขาเขี
ยนฉั
นใด ผู้
กำ
�กั
บภาพยนตร์
ทุ
กคน ก็
มี
ความรู้
สึ
กนึ
กคิ
ดและความในใจ ที่
จะบอกแก่
คนดู
หนั
โดยผ่
านทางภาพยนตร์
ที่
เขาสร้
างขึ้
น ฉั
นเดี
ยวกั
ต่
อไปนี้
จะได้
พิ
จารณาภาพยนตร์
โดยการแยก
เป็
นหั
วข้
อต่
างๆ ดั
งต่
อไปนี้
ข้
อความต่
อจากนี้
อาจารย์
คึ
กฤทธิ์
ขึ้
นหั
วข้
อแรก
ว่
า “ภาษาแห่
งภาพยนตร์
” เป็
นปฐมบท ก่
อนที่
จะลง
รายละเอี
ยดไปถึ
งองค์
ประกอบต่
างๆ ของภาษาแห่
ภาพยนตร์
ซึ่
งอาจารย์
ใช้
คำ
�ว่
า “ธาตุ
” ต่
างๆ รวม
แปดธาตุ
อั
นได้
แก่
ธาตุ
ที่
หนึ่
ง ภาพที่
แลเห็
นได้
ด้
วยตา
ธาตุ
ที่
สอง ความเคลื่
อนไหว
ธาตุ
ที่
สาม เวลา
ธาตุ
ที่
สี่
อากาศ
ธาตุ
ที่
ห้
า สี
ธาตุ
ที่
หก เสี
ยงธรรมชาติ
ธาตุ
ที่
เจ็
ด ดนตรี
ธาตุ
ที่
แปด ภาษาพู