๓๕
ธนบุ
รี
-น้ำ
�ตก จั
งหวั
ดกาญจนบุ
รี
และพบที่
ทุ่
งผั
กหวาน ตำ
�บล
ท่
าขนุ
น อำ
�เภอทองผาภู
มิ
จั
งหวั
ดกาญจนบุ
รี
เป็
นต้
นชนิ
ดว่
า
ขุ
ดดิ
นตรงใหนก็
พบถิ่
นของมนุ
ษย์
ใต้
ดิ
น
ในสมั
ยสงครามโลกครั้
งที่
สอง เชลยศึ
กชาวฮอลั
นดา
ชื่
อ ดร. แวน ฮิ
กเกอรแรน ซึ่
งถู
กญี่
ปุ่
นจั
บมาทำ
�งานเป็
น
กรรมกรสร้
างทางรถไฟสายมรณะ ที่
จั
งหวั
ดกาญจนบุ
รี
ได้
พบเครื่
องมื
อหิ
นของมนุ
ษย์
โบราณที่
ริ
มแม่
น้ำ
�แควน้
อย ใกล้
สถานี
รถไฟบ้
านเก่
า ห่
างจากตั
วจั
งหวั
ดกาญจนบุ
รี
ขึ้
นไปทาง
ตะวั
นออกเฉี
ยงเหนื
อราว ๓๕ ไมล์
จึ
งได้
เขี
ยนรายงานเผย
แพร่
ต่
อมาหลั
งสงครามโลกครั้
งที่
๒ ได้
มี
นั
กประวั
ติ
ศาสตร์
ทั้
งชาวไทยและต่
างประเทศ มาศึ
กษาเรื่
องสมั
ยก่
อน
ประวั
ติ
ศาสตร์
ในประเทศไทยหลายคณะ เช่
น คณะของ
ประเทศเดนมาร์
ค ของมหาวิ
ทยาลั
ยฮาวาย และมหาวิ
ทยาลั
ย
เพนซิ
ลเวเนี
ย ประเทศสหรั
ฐอเมริ
กาเป็
นต้
น การพบเรื่
อง
มนุ
ษย์
ก่
อนประวั
ติ
ศาสตร์
ที่
บ้
านเก่
านั้
น ได้
ตั้
งชื่
อ เรี
ยกเฉพาะ
ว่
า วั
ฒนธรรมฟิ
งนอยเอี
ยน โดยนำ
�คำ
�ว่
า “แควน้
อย” ที่
ชาวต่
างประเทศเรี
ยกว่
า แฟน้
อย หรื
อ ฟิ
งนอย มาตั้
งชื่
อ
วั
ฒนธรรมของมนุ
ษย์
หิ
นเก่
าที่
พบในจั
งหวั
ดกาญจนบุ
รี
นั่
นเอง
ในยุ
คหิ
นเก่
าพบว่
าได้
มี
การเลี้
ยงสั
ตว์
ขึ้
นในภาคอี
สาน
ซึ่
งสำ
�รวจพบโครงกระดู
กวั
ว กรามของหมู
ที่
แหล่
งโบราณคดี
บ้
านโนนนกทา พบกระดู
กหมาที่
แหล่
งโบราณคดี
ที่
บ้
านเชี
ยง
เป็
นหลั
กฐานว่
าชุ
มชนนี้
มี
การเลี้
ยงวั
ว เลี้
ยงควาย เลี้
ยงหมู
เลี้
ยงหมา ข้
อสงสั
ยเรื่
องหมา เกิ
ดขึ้
นทั
นที
ว่
า หมานั้
นเป็
นสั
ตว์
เลี้
ยงชนิ
ดเดี
ยวที่
ไม่
ได้
มี
ในพื้
นที่
ด้
วยเป็
นสั
ตว์
ที่
นำ
�จากที่
แห่
ง
อื่
น (ไม่
รู้
ว่
ามาจากอิ
นเดี
ยหรื
อจี
น) นำ
�มาเลี้
ยงเมื่
อ ๒,๕๐๐-
๓,๖๐๐ ปี
มาแล้
ว วิ
ธี
ล่
าสั
ตว์
ที่
พบปรากฏว่
า การล่
าสั
ตว์
ดั
กสั
ตว์
และจั
บสั
ตว์
น้ำ
� ได้
ทำ
�กั
นมากเมื่
อ ๕,๖๐๐-๓,๖๐๐ ปี
มา
แล้
ว ช่
วงเวลาที่
ถั
ดมาตั้
งแต่
๓,๖๐๐-๒,๐๐๐ ปี
มาแล้
ว มนุ
ษย์
ยั
งออกล่
าสั
ตว์
และจั
บสั
ตว์
น้ำ
�อยู่
แต่
ลดจำ
�นวนลง ด้
วยเหตุ
ที่
มนุ
ษย์
ในระยะนั้
นมี
ความเป็
นอยู่
ดี
ขึ้
นโดยมี
ห้
วยหนองคลอง
บึ
งเป็
นแหล่
งบริ
โภคและสามารถใช้
น้ำ
�ปลู
กข้
าวที่
มี
ผลผลิ
ต
เพี
ยงพอ จึ
งไม่
จำ
�เป็
นต้
องล่
าสั
ตว์
หรื
อออกดั
กสั
ตว์
จั
บปลา
กั
นอย่
างเดิ
ม จะมี
บ้
างก็
พื้
นที่
ไกลน้ำ
� ประกอบกั
บเป็
นระยะ
เวลาที่
สิ่
งแวดล้
อมถู
กทำ
�ลาย ทำ
�ให้
สั
ตว์
ป่
าพากั
นอพยพหา
แหล่
งทำ
�กิ
นใหม่
เครื่
องมื
อเครื่
องใช้
ในสั
งคมล่
าสั
ตว์
และสั
งคม
กสิ
กรรมนั้
น พบว่
ามี
การพั
ฒนาเครื่
องมื
อทางด้
านเทคโนโลยี
(TECHNOLOGY)
กล่
าวคื
อสั
งคมกสิ
กรรมยุ
คแรกนั้
นมี
การใช้
เครื่
องมื
อหิ
นคื
อขวานหิ
นขั
ด ซึ่
งอาจมี
เครื่
องมื
อสำ
�ริ
ดปนอยู่
บ้
าง ซึ่
งต่
อมาได้
มี
เครื่
องมื
อที่
ทำ
�ด้
วยสำ
�ริ
ดและเมื่
อมี
การทำ
�
เครื่
องมื
อด้
วยเหล็
ก โลหะผสมสำ
�ริ
ดจึ
งถู
กนำ
�ไปใช้
ทำ
�เครื่
อง
ประดั
บและพิ
ธี
กรรมทางศาสนาแทน เช่
น กำ
�ไล แหวน ตุ้
มหู
ห่
วงสำ
�ริ
ด เครื่
องราง เป็
นต้
น
เครื่
องมื
อหิ
นและเครื่
องมื
อสำ
�ริ
ดแต่
ละชิ้
นงาน เป็
น
หลั
กฐานของการเป็
นภู
มิ
บ้
านภู
มิ
เมื
องที่
สามารถบอกลั
กษณะ
เฉพาะถิ่
นได้
อย่
างดี
หากมนุ
ษย์
ปั
จจุ
บั
นจะไม่
เที่
ยวขุ
ดทำ
�ลาย-
ย้
ายที
่
จนมั
่
วไปหมด..เลยไม่
รู
้
ของดี
ประจำ
�ถิ
่
นนั
้
นเป็
นอย่
างไรกั
น
ตามรอย..วิ
ธี
ปลู
กข้
าวของชาวอี
สานในยุ
คก่
อน
การเดิ
นทางไปอี
สานวั
นนี้
ไม่
เหมื
อนก่
อนเพราะเกิ
ด
ความสะดวกสบายชนิ
ดเลี้
ยวขวาสระบุ
รี
แล้
วก็
ออกไปแถว
นครราชสี
มาได้
รวดเร็
ว ถิ่
นโคราชนั้
นถื
อว่
าเป็
นบ้
านเมื
อง
สุ
ดท้
ายของอาณาจั
กรสยามก่
อนไปสู่
ดิ
นแดนที่
ครั้
งหนึ่
ง
ทั้
งลาวและขอมเคยมี
อิ
ทธิ
พลอยู่
ด้
วยความที่
เป็
นแอ่
ง
เกษตรกรรมโบราณทั้
งอี
สานบนและอี
สานล่
างนั้
นจี
งทำ
�ให้
สนใจถึ
งแหล่
งภู
มิ
บ้
านภู
มิ
เมื
องแถบนี้
มาก แม้
ว่
าครั้
งหนึ่
ง
พื้
นที่
อี
สานเคยแห้
งแล้
งใต้
ดิ
นแตกระแหงจนกิ
นดิ
นกิ
นเกลื
อ
กั
นนั้
น ปั
จจุ
บั
นได้
กลายเป็
นแหล่
งเกษตรสมบู
รณ์
ตามอย่
าง
แผ่
นดิ
นในอดี
ต
นานมากแล้
วที่
รู้
กั
นว่
าชุ
มชนของสั
งคมกสิ
กรรมนั้
น
อุ
ดมสมบู
รณ์
อยู่
ในภาคอิ
สาน เป็
นชุ
มชนที่
เริ่
มต้
นเพาะปลู
ก
และเลี้
ยงสั
ตว์
มาก่
อนก็
ประมาณกว่
า ๕,๐๐๐ ปี
มาแล้
ว เพราะ
มนุ
ษย์
ถิ่
นนี้
รู้
จั
กการเกษตรขึ้
นเองโดยไม่
ได้
รั
บอิ
ทธิ
พลมาจาก
ภายนอก ชุ
มชนแถบนี้
นอกจากจะรู้
วิ
ธี
การเพาะปลู
ก เลี้
ยงสั
ตว์
แล้
ว ยั
งรู้
จั
กค้
าขายแลกเปลี่
ยนสิ
นค้
าด้
วย แล้
วยั
งมี
การแยก
แรงงานออกมาทำ
�อาชี
พเฉพาะอี
ก เช่
น ช่
างปั้
นภาชนะดิ
น
เผา ช่
างทอผ้
า ช่
างทำ
�เครื่
องมื
อจากโลหะ ช่
างทองเหลื
อง
ช่
างสำ
�ริ
ด เป็
นต้
นโดยทั้
ง ชาวนาและพวกเลี้
ยงสั
ตว์
นั้
นจะ
ใช้
เวลาส่
วนใหญ่
อยู่
กั
บงานช่
างเหล่
านี้
การเพาะปลู
กกั
นในชุ
มชนเกษตรสมบู
รณ์
ภาคอี
สาน
นั
้
นส่
วนใหญ่
นิ
ยมปลู
กข้
าว ซึ
่
งได้
พบแหล่
งโบราณคดี
ที
่
บ้
าน
โนนนกทาและบ้
านเชี
ยง ให้
ศึ
กษารู
้
ได้
ว่
า ได้
มี
วิ
ธี
ปลู
กข้
าวแบบ
เลื่
อนลอย
(SWIDDEN RICE CULTIVATION)
เกิ
ดขึ
้
นเอง
แต่
ละช่
วงปี
นั
้
นจะอาศั
ยน้
ำ
�จากฝนและพื
้
นดิ
นที
่
อุ
ดมสมบู
รณ์
โดยหว่
านเมล็
ดข้
าวลงไป ไม่
มี
การพรวนหรื
อไถดิ
น (หรื
ออาจ
จะมี
การขุ
ดไถก็
ได้
) เมื่
อปลู
กข้
าวได้
สั
กปี
สองปี
ก็
หาที
่
ดิ
นใหม่
เนื่
องจากดิ
นขาดความอุ
ดมสมบู
รณ์
เหมื
อนเที
่
ยวเร่
ร่
อนทำ
�นา
ปลู
กข้
าวไปตามที
่
ต่
างๆ วนเวี
ยนไปรอบๆ ที
่
อยู
่
อาศั
ย