๑๒
วั
นพื
ชมงคล หรื
อ วั
นพระราชพิ
ธี
จรดพระนั
งคั
ล
แรกนาขวั
ญ เป็
นพระราชพิ
ธี
ที่
มี
การสื
บทอดกั
นมาแต่
โบราณ เป็
นพิ
ธี
ที่
สร้
างความเป็
นสิ
ริ
มงคลแด่
พื
ชพั
นธุ์
ธั
ญญาหาร บำ
�รุ
งขวั
ญเกษตรกร และเตื
อนให้
เริ่
มเพาะ
ปลู
กข้
าวและพื
ชไร่
อั
นเป็
นธั
ญญาหารหลั
กในการดำ
�รง
ชี
วิ
ตของคนไทย
การจั
ดงานพระราชพิ
ธี
พื
ชมงคลจรดพระนั
งคั
ล
แรกนาขวั
ญ เริ่
มมี
ตั้
งแต่
ครั้
งกรุ
งสุ
โขทั
ยเป็
นราชธานี
เมื่
อถึ
งวั
นประกอบพระราชพิ
ธี
พระมหากษั
ตริ
ย์
จะเสด็
จ
ออกเป็
นองค์
ประธาน แต่
ในสมั
ยกรุ
งศรี
อยุ
ธยา มี
การ
เปลี่
ยนแปลงเรื่
องพิ
ธี
กรรม คื
อ พระมหากษั
ตริ
ย์
มิ
ได้
ทรง
เป็
นองค์
ประธานในพระราชพิ
ธี
แต่
จะทรงมอบอำ
�นาจให้
ผู้
อื่
นกระทำ
�แทน ส่
วนตั
วพระมหากษั
ตริ
ย์
เองจะทรงจำ
�ศี
ล
เป็
นเวลา ๓ วั
น ถื
อปฏิ
บั
ติ
เช่
นนี้
เรื่
อยมาจนถึ
งสมั
ยอยุ
ธยา
ตอนปลาย
ต่
อมาในสมั
ยกรุ
งรั
ตนโกสิ
นทร์
พระบาทสมเด็
จ
พระพุ
ทธยอดฟ้
าจุ
ฬาโลกมหาราช (รั
ชกาลที่
๑) พระองค์
ทรงเปลี่
ยนพิ
ธี
กรรมบางอย่
าง คื
อ ผู้
ที่
ทำ
�หน้
าที่
พระยา
แรกนานั้
นเป็
นเจ้
าพระยาพหลเทพ ส่
วนในสมั
ยพระบาท
สมเด็
จพระนั่
งเกล้
าเจ้
าอยู่
หั
ว (รั
ชกาลที่
๓) ทรงให้
ผู้
ที่
ยื
น
ชิ
งช้
าถื
อตำ
�แหน่
งพระยาแรกนาด้
วย
เมื่
อถึ
งสมั
ยของพระบาทสมเด็
จพระจอมเกล้
า
เจ้
าอยู่
หั
ว (รั
ชกาลที่
๔) ทรงโปรดเกล้
าฯ ให้
เพิ่
มพิ
ธี
เกี่
ยวกั
บศาสนาพุ
ทธ โดยมี
ชื่
อเรี
ยกว่
า
พระราชพิ
ธี
พื
ช
มงคลจรดพระนั
งคั
ลแรกนาขวั
ญ
แต่
ก็
ต้
องมี
อั
นยกเลิ
ก
ไป เนื่
องจากในช่
วงนั้
นมี
ปั
ญหาเกี่
ยวกั
บบ้
านเมื
อง จาก
นั้
นในปี
พ.ศ. ๒๕๐๓ พระบาทสมเด็
จพระเจ้
าอยู่
หั
ว
(รั
ชกาลที่
๙) ทรงโปรดเกล้
าฯ ให้
ฟื้
นฟู
พระราชพิ
ธี
พื
ช
มงคลจรดพระนั
งคั
ลแรกนาขวั
ญขึ้
นมาอี
กครั้
งหนึ่
ง ซึ่
ง
ประกอบด้
วย ๒ พิ
ธี
คื
อ วั
นแรกจะเป็
น
พระราชพิ
ธี
พื
ช
มงคล
เป็
นพิ
ธี
ในศาสนาพุ
ทธ จั
ดขึ้
น ณ พระอุ
โบสถวั
ด
พระศรี
รั
ตนศาสดาราม ในพระบรมมหาราชวั
ง และวั
นที่
สองจะประกอบ
พระราชพิ
ธี
จรดพระนั
งคั
ลแรกนาขวั
ญ
เป็
นพิ
ธี
ทางศาสนาพราหมณ์
จั
ดขึ้
นที่
ลานพระราชพิ
ธี
ท้
องสนามหลวง โดยพระราชพิ
ธี
จะเริ่
มเมื่
อประธาน
คื
อ พระบาทสมเด็
จพระเจ้
าอยู่
หั
ว หรื
อผู้
แทนพระองค์
เสด็
จประทั
บ ณ พลั
บพลา จากนั้
นโหรหลวงจะบู
ชา
พระฤกษ์
และลั่
นฆ้
องชั
ย ขบวนพระยาแรกนา ได้
แก่
พระยา
แรกนา (ปั
จจุ
บั
นผู้
ทำ
�หน้
าที่
นี้
คื
อ ปลั
ดกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์
) เทพี
คู่
หาบทอง ๒ คน เทพี
คู่
หาบเงิ
น ๒
คน รวม ๔ คน (ปั
จจุ
บั
น คื
อ ข้
าราชการพลเรื
อนสามั
ญ
จะต้
องเป็
นผู้
หญิ
งโสด) ราชบั
ณฑิ
ตเชิ
ญพระเต้
าเทวบิ
ฐ
บรรจุ
น้ำ
�พระพุ
ทธมนต์
๑ ท่
าน พราหมณ์
เป่
าสั
งข์
๒
ท่
าน พราหมณ์
เชิ
ญพระโคอุ
ศุ
ภราช ๑ ท่
าน พราหมณ์
ถื
อ
กรรชิ
ง (กรรชิ
ง คื
อ เครื่
องสู
งสำ
�หรั
บกั
นแดด มี
ลั
กษณะ
คล้
ายฉั
ตร) หน้
า ๒ ท่
าน หลั
ง ๒ ท่
าน และพระโค ๑ คู่
จากนั้
นเริ่
มเคลื่
อนขบวน โดยพระยาแรกนาจั
บหาง
คั
นไถมื
อหนึ่
ง และถื
อพระแสงปฏั
กอี
กมื
อหนึ่
ง เดิ
นไถดะ
ทั้
งหมด ๓ รอบ และในระหว่
างนั้
นราชบั
ณฑิ
ตจะพรมน้ำ
�
พระพุ
ทธมนต์
ลงบนพื้
นดิ
น ในรอบที่
๔ พระยาแรกนาจะ
เริ่
มหว่
านเมล็
ดข้
าวลงในแปลงนาจนครบ ๓ รอบ แล้
วจึ
ง