Page 27 - mar53

Basic HTML Version

กรรณ มู
ลพลั
บ หรื
อยั
กษ์
ต่
างเมื
อง เช่
นแสงอาทิ
ตย์
มั
งกรกั
ณฑ์
วิ
รุ
ฬจำ
�บั
ง นอกจากนี้
ที่
มี
ระดั
บต่ำ
�ลงไปใช้
ไม่
ได้
ทั้
งนั้
น แต่
มาปั
จจุ
บั
นี้
ไม่
ค่
อยเคร่
งครั
ดกั
น ใครนึ
กอยากจะรำ
�ก็
นำ
� ไม่
คำ
�นึ
งถึ
งความ
หมาย หรื
อฐานะของตั
วละคร
เสมอสามลานี้
ให้
เหมื
อนกั
บหน้
าพาทย์
เสมอธรรมดา คื
เป็
นกิ
ริ
ยาเดิ
นทางในระยะใกล้
ๆ จะต่
างกั
บเสมอธรรมดาก็
แต่
เพี
ยงท่
วงท่
าทำ
�นองของเพลงที่
ไม่
เหมื
อนกั
น เพราะเสมอสามลา
มี
๑๕ ไม้
เดิ
น ขณะที่
เสมอธรรมดามี
๕ ไม่
เดิ
นเท่
านั้
นเอง และท่
รำ
�เสมอสามลากำ
�หนดให้
รำ
�ข้
างละ ๕ ไม้
เดิ
น คื
อ ข้
างขวา-ซ้
าย
และกลาง แล้
วลงอี
ก ๔ ไม้
เช่
นเดี
ยวกั
บเสมอธรรมดา ในพิ
ธี
ไหว้
ครู
โขน-ละครนั้
น มี
โอกาสใช้
เพลงหน้
าพาทย์
นี้
คื
อบรรเลง
ตอนพระภรตฤตี
เข้
ามาพิ
ธี
เสมอมาร เป็
นเพลงหน้
าพาทย์
ที่
เจาะจงให้
เฉพาะผู้
แสดง
เป็
นตั
วยั
กษ์
เท่
านั้
น หรื
อสภาพของตั
วละครนั้
นๆ ตั
วละครอื่
นๆนำ
ไปใช้
ไม่
ได้
ก้
ถื
อว่
าเป็
นเพลงหน้
าพาทย์
สู
งเพลงหนึ่
งที่
ใช้
ประกอบ
การแสดงโขนซึ่
งเป็
นกิ
ริ
ยาการเดิ
นของยั
กษ์
ในระยะทางใกล้
เพราะฉะนั้
นหากผู้
ชมโขนได้
ยิ
นผู้
พาทย์
เรี
ยกเพลงเสมอจะเป็
เสมออะไรก็
ตามแต่
ขอให้
เข้
าใจว่
าจะมี
การเดิ
นทางในระยะใกล้
(เว้
นแต่
เพลงเสมอข้
ามสมุ
ทร และพญาเดิ
นดิ
น) ซึ่
งจะแตกต่
าง
กั
นออกไปและจะกล่
าวถึ
งในบทต่
อไป สำ
�หรั
บเสมอมารนี้
ยั
กษ์
ที่
จะใช้
ต้
องเป็
นยั
กษ์
ที่
อยู่
ในตำ
�แหน่
งฐานะใหญ่
ๆ เช่
น ทศกั
ณฑ์
สหั
สเดชะ หรื
อรองๆลงมา แต่
ไม่
ถึ
งมโหธรหรื
อปวนาสู
รซึ่
งเป็
แค่
หมาเสนาบดี
เท่
านั้
เสมอมารที่
ท่
าเดิ
นและไม้
กลองเท่
ากั
บเสมอธรรมดาผิ
กั
น แต่
ท่
วงทำ
�นองและลี
ลาที่
แตกต่
างกั
นออกไปเพื่
อให้
เหมาะสม
กั
บความสง่
างาม ผ่
าเผย น่
าเลื่
อมใสของตั
วแสดง โดยกำ
�หนดให้
เดิ
นข้
างละ ๑ ไม้
กลองเริ่
มด้
วยทางขวาและกลั
บไปทางซ้
ายและ
หั
นกลั
บทางขวาและซ้
ายจนไม้
กลองสุ
ดท้
ายเดิ
นหน้
าตรง รวม
๕ ไม้
เช่
นเดี
ยวกั
นกั
บเสมอธรรมดา จากนั้
นไม้
กลองสุ
ดท้
ายเดิ
หน้
าตรงรวม ๕ ไม้
เช่
นเดี
ยวกั
นกั
บเสมอธรรมดาจากนั้
นก็
ลงลา
อี
ก ๔ ไม้
เช่
นเดี
ยวกั
บเสมอธรรมดาทุ
กประการ ขอยกตั
วอย่
าง
บทพาทย์
ประกอบเพลงหน้
าพาทย์
ดั
งนี้
ทศเศี
ยรจองลงกาทรงปรี
ดาภิ
รมย์
โสมนั
เสด็
จจากบรรลั
งรั
ตน์
เข้
าสู
ห้
องสรงทรงเครื่
องสำ
�หรั
บรณยุ
ทธ์
ดู
องอาจผาดผุ
ดดั
งพญาสี
หราชไกรสร
แล้
วนวยนาดราดกรลงมา ยั
งที่
ประชุ
มพลโยชี
(บั
ดนี้
เสมอมาร)
เสมอเถร
เป็
นหน้
าพาทย์
เสมอตามสภาพเช่
นเดี
ยว
กั
บเพลงเสมอมารใช้
เฉพาะกั
บกิ
ริ
ยาของนั
กภรตฤษี
โดยเฉพาะ
เพราะคำ
�ว่
าเถร ก็
บ่
งบอกไว้
ชั
ดอยู่
แล้
วว่
าจะเป็
นกิ
ริ
ยาอาการของ
ใคร ไม่
ได้
นอกจากผู้
ที่
ทรงศี
ล จะเห็
นได้
จากการแสดงโขนตองลั
นาวสี
ดา ซึ่
งทศกั
ณฑ์
แปลงเป็
นนั
กพรต ชื่
อสุ
ธรรมฤษี
เข้
าไปหา
นางสี
ดาซึ่
งนั่
งอยู่
คนเดี
ยวในป่
า เพลงนี้
แสดงออกถึ
งกิ
ริ
ยาของ
ผู้
ทรงพรต มี
การร่
ายรำ
�ไปอย่
างช้
าๆ และสง่
าผ่
าเผยอยู่
ในที
เพลง
กำ
�หนดท่
วงทำ
�นองไว้
๙ ไม้
กลอง คื
อเดิ
นไปทางขวาและซ้
าย
ข้
างละ ๓ ไม้
กลอง และเดิ
นหน้
าอี
ก ๓ ไม้
กลอง จากนั้
นจึ
งจะ
ลงไม้
ลา
การรำ
�เสมอเถรนี้
มี
ท่
ารำ
�ที่
ไม่
เหมื
อนกั
บท่
ารำ
�เสมอ
อื่
นๆ ตรงที่
ต้
องหั
นมาประ เท้
าด้
วยเท้
าขวาขึ้
นท่
าแล้
หมุ
นตั
วกลั
บมาลงท่
าอั
ดพร้
อมกั
บประเท้
าซ้
ายขึ้
นท่
าใหญ่
ใช้
ลำ
�ตั
ซ้
ายขวาตามจั
งหวะของตะโพนจบแล้
วจึ
งกรายมื
อป้
องกั
นหน้
าจึ
จะจบเพลงหน้
าพาทย์
เสมอเถร
+-------------------------------------------+
ผู้
เขี
ยน นายจตุ
พร รั
ตนวราหะ
ศิ
ลปิ
นแห่
งชาติ
ประจำ
�ปี
พุ
ทธศั
กราช ๒๕๕๒
สาขาศิ
ลปะการแสดง
๒๕