Page 18 - fab53

Basic HTML Version

คนไทยรั
บภาษาต่
างประเทศเข้
ามาใช้
ในภาษา
ไทยตลอดเวลา ตั้
งแต่
สมั
ยโบราณมาเรารั
บภาษาบาลี
(เช่
น สั
จจะ) สั
นสกฤต (เช่
น สั
ตย์
) ทมิ
ฬ (เช่
น กวิ
น)
เขมร (เช่
น ขจี
) มลายู
(เช่
นกาสา) ชวา (เช่
น บุ
หงา)
เปอร์
เซี
ย ( เช่
น สุ
หร่
าย) โปรตุ
เกส ( เช่
น สบู่
) ฝรั่
งเศส
(เช่
น โชเฟอร์
) อั
งกฤษ (เช่
น สแลง) มาใช้
จนนานเข้
าก็
ถื
อเป็
นคำ
�ภาษาไทย ปั
จจุ
บั
นเราก็
ยั
งรั
บภาษาต่
างประเทศ
โดยเฉพาะภาษาอั
งกฤษเข้
ามาใช้
ในภาษาไทย มี
การจั
ทำ
�พจนานุ
กรมกำ
�หนดคำ
�ศั
พท์
และแปลความหมายของ
คำ
�เหล่
านั้
น ราชบั
ณฑิ
ตยสถานเป็
นหน่
วยงานราชการ
สำ
�คั
ญที่
ได้
จั
ดทำ
�พจนานุ
กรมศั
พท์
สาขาวิ
ชาต่
างๆ ซึ่
งอาจ
จะเป็
นคำ
�ไทยที่
บั
ญญั
ติ
ขึ้
นแทนคำ
�ภาษาต่
างประเทศนั้
หรื
ออาจจะเป็
นคำ
�ทั
บศั
พท์
หากเป็
นศั
พท์
เฉพาะสาขาจน
ไม่
อาจหาคำ
�ไทยแทนได้
แม้
เราจะมี
คำ
�ไทยใช้
แทนคำ
�ภาษาต่
างประเทศ
ทั้
งคำ
�แปล คำ
�ทั
บศั
พท์
และศั
พท์
บั
ญญั
ติ
แต่
คนจำ
�นวน
หนึ่
งพอใจใช้
คำ
�ภาษาต่
างประเทศปนกั
บภาษาไทยในการ
พู
ด การสนทนา อาจจะด้
วยเหตุ
ผลต่
าง ๆ ได้
แก่
ประการแรก
ผู้
พู
ดมี
ประสบการณ์
การใช้
ชี
วิ
ตในต่
างประเทศมา
ยาวนานจนเคยชิ
นกั
บการใช้
ภาษาต่
างประเทศมากกว่
ภาษาไทย เวลาใช้
จึ
งนึ
กคำ
�ภาษาไทยไม่
ออก แต่
ลั
กษณะ
“หั
วนอก ใช้
ภาษาไทยไม่
เป็
น” เช่
นนี้
มี
น้
อยลงไปมาก
เหตุ
ผลประการที่
สองคื
อเป็
นภาษาเฉพาะวงการ ที่
หาก
ใช้
คำ
�ศั
พท์
ภาษาต่
างประเทศจะเข้
าใจตรงกั
นและสะดวก
ในการทำ
�งานมากกว่
า เช่
น ภาษาในวงการโฆษณา ภาษา
ในวงการคอมพิ
วเตอร์
เป็
นต้
น เหตุ
ผลประการที่
สาม คื
คนที่
ใช้
ภาษาไทยปนภาษาต่
างประเทศมี
ค่
านิ
ยมว่
าเป็
สิ่
งแสดงความเป็
นคนทั
นสมั
ย โก้
เก๋
มี
การศึ
กษาสู
ภาษาจึ
งเป็
นสั
ญญะแสดงสถานภาพในสั
งคม นอกจาก
นี้
อาจจะเป็
นเพราะรู้
สึ
กสะใจได้
อารมณ์
ดั
งจะเห็
นว่
มี
การใช้
ภาษาต่
างประเทศปนภาษาไทยมากในวงการ
บั
นเทิ
งและโฆษณา ประการสุ
ดท้
ายคื
อ การใช้
เพราะ
ความเคยชิ
น เนื่
องจากได้
ยิ
นได้
ฟั
งจากสื่
อที่
อยู่
รอบตั
ทั้
งวิ
ทยุ
โทรทั
ศน์
และสื่
ออิ
เล็
กทรอนิ
กส์
ต่
างๆ
ความจริ
งการแก้
ไขก็
ทำ
�ได้
ไม่
ยาก เพราะหาก
ผู้
ใช้
ภาษามี
ทั
ศนคติ
และค่
านิ
ยมว่
าเราเป็
นคนไทย เรา
ต้
องพยายามใช้
ภาษาไทยในการสื่
อสารให้
มากที่
สุ
เท่
าที่
จะทำ
�ได้
การใช้
คำ
�ภาษาต่
างประเทศปนเข้
ามา
ควรเป็
นกรณี
ที่
หลี
กเลี่
ยงไม่
ได้
จริ
ง ๆ ดั
งจะเห็
นจาก
ตั
วอย่
างข้
างล่
างนี้
ว่
า คำ
�ภาษาอั
งกฤษที่
นำ
�มาใช้
เป็
คำ
�ที่
เรามี
คำ
�แปลภาษาไทยที่
สั้
น ง่
าย และใช้
กั
นมา
นานแล้
อลิ
ชา พู
ดว่
า “แหม
class
นี้
อาจารย์
สอน
สนุ
กเป็
นบ้
าเลย คน
attend
เต็
มห้
อง ต้
องรี
บไปนะ
จิ๋
ม เดี๋
ยวไม่
มี
ที่
นั่
ง”
อลิ
ชาควรจะพู
ดใหม่
ว่
า “แหม
วิ
ชา
นี้
อาจารย์
สอนสนุ
กเป็
นบ้
าเลย คน
เข้
าเรี
ยน
เต็
มห้
อง ต้
องรี
บไป
นะจิ๋
ม เดี๋
ยวจะไม่
มี
ที่
นั่
ง”
ณั
ฐริ
นี
บ่
นกั
บเพื่
อน ๆ ว่
า “ลู
กนั
ท เธอทำ
paper
ส่
งอาจารย์
หรื
อยั
ง ชั้
นทำ
�ไม่
ทั
นเลย นี่
ก็
จวนจะสอบ
mid-term
อี
กแล้
ว จะบ้
าตาย
text
ที่
อาจารย์
สั่
งให้
อ่
านก็
ยั
งไม่
ได้
อ่
านเล้
ย”
ศาสตราจารย์
ดร.รื่
นฤทั
ย สั
จจพั
นธุ์
วั
ฒนธรรมภาษา
๑๖