๔๗
ความรู้
ความเข้
าใจในหนั
ง จะทำ
�ให้
เรารู้
จั
กส่
วนดี
ส่
วนเสี
ยที่
มี
อยู่
ในหนั
งมากขึ้
น
ความรู้
จั
กมากขึ้
น ซึ่
งไม่
ว่
าจะเป็
นสิ่
งใดสิ่
งหนึ่
ง, จะ
ก่
อให้
เกิ
ดประโยชน์
อะไรแก่
มนุ
ษย์
นั้
นดู
จะเป็
นสิ่
งที่
ไม่
จำ
�เป็
นต้
องอธิ
บาย
แต่
ปั
ญหาอยู่
ที่
ว่
า ทุ
กวั
นนี้
คนหลายคน ได้
ดู
หนั
ง, เคยดู
หนั
ง, รู้
จั
กหนั
ง แต่
คนน้
อยคนนั
ก ที่
จะเรี
ยก
ได้
ว่
า “รู้
จั
กและเข้
าใจ” หนั
ง ดี
ซึ่
งคนหลายคนนี้
นั
บรวมได้
ทั้
งหมด ไม่
ว่
าจะเป็
น
คนดู
หรื
อคนทำ
�หนั
งบางคนด้
วยซ้ำ
�ไป
ความ “รู้
จั
กและเข้
าใจ” หนั
ง ที่
คนหลายคนอาจ
จะยั
งมี
ไม่
เพี
ยงพอนี่
แหละครั
บ ที่
ทำ
�ให้
ทุ
กวั
นนี้
คนบางคนอาจจะดู
หนั
งไปอย่
างไม่
รู้
จั
กหนั
ง
ดู
หนั
งอย่
างเสี
ยประโยชน์
(ที่
ควรได้
) มากกว่
าได้
ประโยชน์
ดู
หนั
งอย่
างเป็
นเหยื่
อของการนำ
�เสนอ (บางสิ่
ง
บางอย่
าง) ในหนั
ง
เกิ
ดปรากฎการณ์
เรื่
องหนั
งไทยไม่
เคยดี
เท่
าหรื
อดี
กว่
าหนั
งต่
างประเทศ (ส่
วนใหญ่
)
และ ฯลฯ และ ฯลฯ......ซึ
่
งสรุ
ปว่
าเอาแค่
นี
้
ก็
แล้
วกั
น
อาการของโรครู้
จั
กแค่
หนั
ง แต่
ยั
งไม่
รู้
จั
กพอที่
จะเรี
ยกว่
า “รู้
และเข้
าใจหนั
ง” นี้
สามารถจะเยี
ยวยา
ได้
บ้
าง ถ้
าใครจะพยายาม สร้
างความเข้
าใจระหว่
าง
ตั
วเรากั
บหนั
งให้
มากขึ้
น
ถ้
าจะเปรี
ยบตั
วเรากั
บหนั
ง ว่
าหนั
งเป็
นคนที่
เราไม่
เคยรู้
จั
กมาก่
อน แต่
เราอยากจะทำ
�ความรู้
จั
ก การพยายาม
สร้
างความเข้
าใจประการแรก เราก็
ควรจะ
เริ่
มด้
วยการส่
งภาษาสื่
อสารกั
นดู
ก่
อนว่
า
เรากั
บหนั
งนั้
นพู
ดภาษาเดี
ยวกั
นได้
หรื
อไม่
เพี
ยงใด
ในกรณี
นี้
หนั
งพู
ดภาษาคนไม่
ได้
แน่
แต่
คนมี
สิ
ทธิ์
จะเรี
ยนรู้
ภาษาหนั
ง เพื่
อการ
สื่
อสารว่
า ตั
วเรากั
บหนั
ง จะสามารถสร้
าง
ความเข้
าใจกั
นได้
หรื
อไม่
และแค่
ไหนเพี
ยง
ใด?
คนเราถ้
าสามารถสื่
อสารผ่
านภาษา
เดี
ยวกั
นได้
แล้
ว การรู้
จั
กและเข้
าใจกั
น ก็
จะง่
ายขึ้
น เป็
นของธรรมดา
อยาก “รู้
จั
กและเข้
าใจหนั
ง”ให้
มากขึ้
น เราจึ
ง
จะต้
องรู้
จั
ก “ภาษาหนั
ง” ก่
อนเป็
นประการแรก
คนที่
ให้
ความรู้
เรื่
องภาษาหนั
ง แก่
ผมเป็
นคนแรก
นั้
นมี
ชื่
อเสี
ยงเรี
ยงนามว่
า ม.ร.ว.คึ
กฤทธิ์
ปราโมช ซึ่
งผม
จำ
�ได้
ดี
ว่
า อาจารย์
คึ
กฤทธิ์
เขี
ยนเรื่
องเหล่
านี้
ไว้
ใน
หนั
งสื
อ
ชื่
อเมื
องมายา
ผมจะขออนุ
ญาตคั
ดข้
อเขี
ยนของอาจารย์
ม.ร.ว.คึ
กฤทธิ์
ปราโมช ที่
เกริ่
นถึ
งเรื่
องนี้
มานำ
�เสนอไว้
ดั
งต่
อไปนี้
“สำ
�รวลรื่
นคลื่
นราบดั
งปราบเรี
ยม
ทั้
งน้ำ
�เปี่
ยมป่
าแสมข้
างแควขวา
ดาวกระจายพรายพร่
างกลางนภา
แสงคงคาเค็
มพราวราวกั
บพลอย”
ที่
คั
ดเอามาลงไว้
ข้
างบนนี้
เป็
นภาษาของกวี
จาก
นิ
ราศเมื
องเพชรของสุ
นทรภู่
และเป็
นคำ
�พู
ดซึ่
งแสดงให้
เห็
นถึ
งความคิ
ดและความรู้
สึ
กในภาพธรรมชาติ
โดยใช้
การเปรี
ยบเที
ยบกั
บสิ่
งอื่
นทำ
�ให้
ผู้
ที่
ได้
อ่
านได้
ยิ
นแลเห็
น
ภาพนั้
นได้
ชั
ดแจ้
ง
ผู้
สร้
างภาพยนตร์
ก็
มี
ภาษาของตนโดยเฉพาะ ซึ่
ง
จะต้
องใช้
เพื่
อแสดงความรู้
สึ
กนึ
กคิ
ดของตนให้
ปรากฏ
แก่
ผู้
ดู
เช่
นเดี
ยวกั
บกวี
หรื
อศิ
ลปิ
นอื่
นๆ แต่
ภาษาของ
ผู้
สร้
างภาพยนตร์
นั้
น เป็
นภาษาแสดงออกด้
วยภาพมิ
ใช่
ด้
วยถ้
อยคำ
� แต่
ถึ
งอย่
างนั้
น ภาษาของภาพยนตร์
ก็
ยั
ง
สามารถเปรี
ยบเที
ยบ อุ
ปมาอุ
ปมั
ย เพื่
อให้
คนดู
ได้
เข้
าใจ
ถึ
งความรู้
สึ
กนึ
กคิ
ดต่
างๆ ไม่
น้
อยไปกว่
าภาษาแห่
งกวี
หรื
อ