๒๕
สั
งคมไทยเป็
นสั
งคมที่
มี
ความหลากหลายในด้
าน
วั
ฒนธรรม และเป็
นสั
งคมที่
มี
ความมั่
งคั่
งด้
านวรรณกรรม
วรรณกรรมในสั
งคมไทยจึ
งมี
ทั้
งที่
ถ่
ายทอดเป็
นภาษาไทย
ภาษาตระกู
ลไทและภาษาตระกู
ลอื่
น ผู้
ที่
พู
ดภาษาตระกู
ลไท
ได้
อพยพโยกย้
ายมาจากประเทศอื่
นเข้
ามาอยู่
ในสั
งคมไทย
ด้
วยสาเหตุ
ต่
างๆกั
น ในหลายยุ
คหลายสมั
ยมี
จำ
�นวนหลาย
กลุ่
ม เช่
น ลาวโซ่
ง ลาวพวน ลาวแง้
ว ลาวครั่
ง ลาวตี้
ลาว
หลวงพระบาง ลาวเวี
ยง ไทใหญ่
ไทลื้
อ ไทขึ
น ซึ่
งบางที
ก็
เรี
ยกว่
า
ไทยโซ่
ง ไทยพวน ไทยแง้
ว ไทยใหญ่
ไทยลื้
อ ไทยเขิ
น
หรื
อไทยขึ
น เพื่
อบ่
งบอกว่
าปั
จจุ
บั
นเป็
นสมาชิ
กในสั
งคมไทย
ผู้
ที่
อพยพโยกย้
ายเข้
ามาได้
นำ
�วรรณกรรมของกลุ่
มตน
เข้
ามาด้
วย ทั้
งวรรณกรรมมุ
ขปาฐะและวรรณกรรม
ลายลั
กษณ์
เช่
นเดี
ยวกั
บ ผู้
ที่
สื
บเชื้
อสายจากกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
อื่
น
หลายกลุ่
ม บางกลุ่
มก็
อาศั
ยบนผื
นแผ่
นดิ
นนี้
มานานและบาง
กลุ่
มก็
อพยพเคลื่
อนย้
ายเข้
ามาในภายหลั
ง เช่
น มอญ ละว้
า
เขมร กะเหรี่
ยง ม้
ง เย้
า อ่
าข่
า มู
เซอร์
ฯลฯ กลุ่
มชนเหล่
านี้
ทุ
กกลุ่
มมี
วรรณกรรมมุ
ขปาฐะถ่
ายทอดกั
นมา และบางกลุ่
ม
ก็
มี
วรรณกรรมลายลั
กษณ์
ด้
วย ดั
งหลั
กฐานที่
ปรากฏในงาน
วิ
จั
ยและวิ
ทยานิ
พนธ์
ด้
านคติ
ชนวิ
ทยาและวรรณกรรมท้
องถิ่
น
ของสถาบั
นการศึ
กษาหลายแห่
ง
บทความนี้
มุ่
งกล่
าวถึ
งแนวทางการอนุ
รั
กษ์
วรรณกรรม
๒ ประเภทที่
มี
การสร้
างสรรค์
และสื
บทอดกั
นมาจากรุ่
นสู่
รุ่
น
ได้
แก่
วรรณกรรมมุ
ขปาฐะและวรรณกรรมลายลั
กษณ์
ที่
อยู่
ในรู
ปเอกสารตั
วเขี
ยน วรรณกรรม ๒ ประเภทนี้
ถ้
าหากขาด
การดู
แลรั
กษาอย่
างดี
ก็
อาจเสื่
อมสู
ญไปตามกาลเวลาอย่
าง
น่
าเสี
ยดาย
วรรณกรรมมุ
ขปาฐะ
หมายถึ
งวรรณกรรมที่
ถ่
ายทอด
กั
นด้
วยการบอกเล่
า หรื
อขั
บเป็
นทำ
�นอง มี
หลายประเภท
ได้
แก่
ตำ
�นาน นิ
ทาน ภาษิ
ต ปริ
ศนาคำ
�ทาย บทสวดใน
พิ
ธี
กรรมต่
างๆ รวมทั้
งเพลงพื้
นบ้
านซึ่
งมี
ทั้
งเพลงของผู้
ใหญ่
และเพลงสำ
�หรั
บเด็
ก
ศาสตราจารย์
พิ
เศษ ดร.ประคอง นิ
มมานเหมิ
นท์