Page 26 - aug53

Basic HTML Version

๒๔
แนวคิ
ดการสร้
างความเป็
นไทยในงานสถาปั
ตยกรรม
สมั
รั
ชกาลที่
(ที่
ถู
กใช้
ในวงจำ
�กั
ด) มาเป็
นยุ
ทธศาสตร์
หนึ่
ของ
กระแสชาติ
นิ
ยม
และกลายมาเป็
ศิ
ลปะแห่
งชาติ
แบบสำ
�เร็
จรู
ป ที่
ให้
นิ
ยามความหมายของไทยแบบรั
ฐชาติ
(วั
ฒนธรรมลุ่
มน้ำ
�เจ้
าพระยา)
ที่
แพร่
หลายในวงกว้
างและ
ยั
งทรงอิ
ทธิ
พลมาจนถึ
งปั
จจุ
บั
น และได้
กลายเป็
นระเบิ
ดเวลา
ลู
กใหญ่
ที่
ตั
ดตอน โดยไม่
ให้
ความสำ
�คั
ญกั
บความหลากหลาย
ทางวั
ฒนธรรมท้
องถิ่
น ทั้
งหมดนี้
ก็
ล้
วนแล้
วแต่
มี
ส่
วนสำ
�คั
ญที่
ทำ
�ให้
เกิ
ดการเปลี่
ยนแปลงทั้
งรสนิ
ยมและรู
ปแบบในงานช่
าง
พุ
ทธศิ
ลป์
อี
สาน ทั้
งทางตรงและทางอ้
อม อี
กปมเหตุ
สำ
�คั
คื
อ ความไม่
เข้
าใจใน “ภู
มิ
ปั
ญญาเชิ
งช่
าง
พื
นบ้
าน” และการประเมิ
นคุ
ณค่
าความ
งามทางศิ
ลปะ โดยอิ
งมาตรฐานจาก
วั
ฒนธรรมศู
นย์
กลางของอำ
�นาจ
ทางการเมื
อง ของผู้
มี
อำ
�นาจ
ทั้
งพระสงฆ์
และฆราวาส ทำ
�ให้
เกิ
ดลั
ทธิ
เอาอย่
าง เนื่
องจากความ
ละอายภู
มิ
ปั
ญญาดั้
งเดิ
มและเกิ
ปมด้
อยในทางวั
ฒนธรรม ตามมา
ด้
วยการรื้
อสร้
างที่
ขาดสำ
�นึ
กรากเหง้
แห่
งจิ
ตวิ
ญญาณเดิ
มของตนเอง
ห รื
อ ทั้
ง ห ม ด นี้
จ ะ เ ป็
น ไ ป
สภาวะธรรมความเป็
นจริ
งที่
ว่
วิ
ถี
วั
ฒนธรรมแบบชาวบ้
านจะมี
การ
เคลื่
อนไหวเปลี่
ยนแปลงอยู่
ตลอดเวลา ในขณะที่
กรอบวิ
ถี
แห่
งสั
งคมจารี
ตของวั
ฒนธรรมหลวงจะมี
การเคลื่
อนไหว
เปลี่
ยนแปลงช้
ากว่
แต่
ทั้
งวั
ฒนธรรมหลวงและวั
ฒนธรรม
ชาวบ้
านโดยธรรมชาติ
ความเป็
นจริ
งก็
มี
การผสมผสานถ่
ายไป
เทมาซึ่
งกั
นและกั
นตามเหตุ
ปั
จจั
ยและเงื่
อนไขในแต่
ละบริ
บท
แห่
งห้
วงเวลา ทั้
งหมดได้
หลอมรวมเป็
นรู
ปร่
างหน้
าตาศาสนา
คารให้
เราเห็
นและเป็
นอยู่
อย่
างในปั
จจุ
บั
นนั้
นเอง ส่
วนคุ
ณค่
สู
งต่ำ
�ก็
อยู่
ที่
จะใช้
เครื่
องวั
ดของใครเป็
นตั
วประเมิ
นตั
ดสิ
น แต่
ทั้
งนี้
ใช่
ว่
าสิ่
งที่
เรี
ยกว่
สั
จจะธรรม
จะจบลงหรื
อถึ
งจุ
ดสิ้
นสุ
อยู่
ที่
ความเสื่
อมไม่
ตรงกั
นข้
าม สั
จจะธรรมคื
อสภาวะความ
จริ
งที่
เป็
นเหตุ
และผลของความเจริ
ญ ของกั
นและกั
นโดย
ต้
องอาศั
ย สติ
และปั
ญญา เป็
นตั
วกำ
�หนดรู้
คอยควบคุ
มตน
และสั
งคมไม่
ให้
อยู่
ในอาการ
หลงอดี
ตจนลื
มปั
จจุ
บั
นจน
สร้
างสรรค์
พั
ฒนาต่
อไม่
ได้
เพราะขาดรากทางวั
ฒนธรรม
ของตน อี
กทั้
งกรอบความคิ
ดที่
เป็
นมายาคติ
อั
นคั
บแคบใน
การเปิ
ดรั
บสิ่
งใหม่
ๆและควรให้
เกี
ยรติ
วั
ฒนธรรมอื่
น อย่
าง
เป็
นเหตุ
เป็
นผล ตามพละกำ
�ลั
งของตนอย่
างสมดุ
ลย์
รายการอ้
างอิ
เติ
ม วิ
ภาคย์
พจนกิ
จ.
ประวั
ติ
ศาสตร์
อี
สาน
เล่
ม ๒, กรุ
งเทพฯ :
มหาวิ
ทยาลั
ยธรรมศาสตร์
, ๒๕๓๐ : ๕๓๑.
ประวั
ติ
พระเทพวรคุ
ณและผลงานของท่
านกั
บอั
ตตประวั
ติ
(พระอุ
บาลี
คุ
ณปมาจารย์
) พร้
อมด้
วยกาพย์
และกลอน
ภาษาอี
สาน, กรุ
งเทพฯ : มหามงกุ
ฎราชวิ
ทยาลั
ย, เพื่
เป็
นอนุ
สรณ์
ในงานพระราชทานเพลิ
งศพพระเทพวรคุ
ณ,
๒๕๑๒ : ๑๖.
ลี
ลา วี
ระวงศ์
. ฮี
ตสิ
บสอง, อุ
บลราชธานี
: วิ
ทยาการพิ
มพ์
,
๒๕๒๙ : ๒.
เติ
ม วิ
ภาคย์
พจนกิ
จ.
ประวั
ติ
ศาสตร์
อี
สาน
เล่
ม ๒,
กรุ
งเทพฯ : มหาวิ
ทยาลั
ยธรรมศาสตร์
, ๒๕๓๐ : ๖๐๗-๖๑๑.
ปฐม ตาคะนานั
นท์
, คณะสงฆ์
สร้
างชาติ
สมั
ยรั
ชกาลที่
๕.
กรุ
งเทพฯ : สำ
�นั
กพิ
มพ์
มติ
ชน, ๒๕๕๑ : ๒๐๙
ที
ปกร(นามแฝง),
ศิ
ลปะเพื่
อชี
วิ
ตศิ
ลปะเพื่
อประชาชน
๒๕๔๐ กรุ
งเทพฯ : รุ่
งเรื
องการพิ
มพ์
หน้
า ๓๓-๓๔.
วิ
โรฒ ศรี
สุ
โร.
ธาตุ
อี
สาน.
กรุ
งเทพฯ : เมฆาเพรส, ๒๕๓๙
: ๑๖๕.
สั
นติ
เล็
กสุ
ขุ
ม. ศิ
ลปะลาวในประเทศไทย. https://www.
surdi.su.ac.th/art ๒ เมื่
อวั
นที่
๒๔ พ.ย. ๒๕๕๐.
ตุ๊
กตาทวารบาลและบั
นไดพลสิ
งห์
วั
ดทุ่
งศรี
เมื
องอุ
บลศิ
ลปะพื้
นเมื
อง
ตุ๊
กตาทวารบาลสกุ
ลลช่
าง
ญวนเมื
องอุ
บล