วารสารวั
ฒนธรรมไทย
32
ดั
งนั้
นบริ
เวณที่
เรื
อจะเข้
าถึ
งก็
อยู่
ในระหว่
างจั
งหวั
ดตรั
ง
ไปจั
งหวั
ดพั
งงา โดยรวมกระบี่
และตะกั่
วป่
า อยู่
บริ
เวณนี้
ด้
วย
ส่
วนขากลั
บนั้
นเรื
ออาจจะแล่
นเลี
ยบชายฝั่
งไปถึ
งแนวละติ
จู
ดที่
๑๐ องศา บริ
เวณจั
งหวั
ดระนองแล้
วตั้
งหั
วเรื
อมุ่
งไปทางทิ
ศตะวั
นตก
เรื
อก็
จะเข้
าทางตอนเหนื
อของลั
งกาหรื
อชายฝั่
งทะเลตอนใต้
...”
สรุ
ปแล้
วเป็
นอิ
ทธิ
พลลมมรสุ
มที่
คาดการณ์
ไว้
ยั
งไม่
ได้
ทดลองให้
เห็
นจริ
ง ส่
วนที่
แน่
นอนก็
คื
อ บริ
เวณที่
เรื
อตั้
งหั
วแล่
นนั้
น
ต้
องมี
ทิ
ศทางรั
บกั
บกระแสลมและมี
สถานที่
กำบั
งเรื
อหลบ
กระแสลมได้
ด้
วยเหตุ
นี้
บริ
เวณตรงแหล่
งโบราณคดี
บ้
านทุ่
งตึ
ก
หรื
อเหมื
องทอง ตำบลเกาะคอเขา อำเภอตะกั่
วป่
า จั
งหวั
ดพั
งงา
จึ
งกลายเป็
นเมื
องท่
าขนาดใหญ่
ขึ้
นในอดี
ตกาล
การค้
นพบสถานที่
แห่
งนี้
ก็
อาศั
ยการสำรวจขุ
ดค้
นและ
การค้
นพบโบราณวั
ตถุ
ที่
เชื่
อมโยงไปถึ
งลั
กษณะของสิ
นค้
านำเข้
า
จากต่
างประเทศ ที่
เกิ
ดขึ้
นเมื่
อ ๑๐๐๐ ปี
มาแล้
ว ได้
แก่
เครื่
องถ้
วยจี
น
สมั
ยราชวงศ์
ถั
งตอนปลาย เครื่
องถ้
วยเปอร์
เซี
ย เครื่
องแก้
วจาก
ตะวั
นออกกลาง ลู
กปั
ดแก้
วและหิ
นจากตะวั
นออกกลางหรื
อ
อิ
นเดี
ย เป็
นต้
น ทั้
งหมดมี
อายุ
อยู่
ระหว่
างพุ
ทธศตวรรษที่
๑๓-๑๖
บริ
เวณนี้
เป็
นท้
องทะเลราบเรี
ยบ กว้
างขวาง และเหมาะสำหรั
บ
เป็
นท่
าเรื
อขนาดใหญ่
ต่
อการขนส่
งสิ
นค้
าจากเรื
อ
ทะเลด้
านในของเมื
องท่
าบ้
านทุ่
งตึ
กนี้
แม้
เต็
มไปด้
วย
ป่
าชายเลนในปั
จจุ
บั
น ก็
ยั
งมี
ร่
องน้
ำที่
ให้
เรื
อเข้
าไปถึ
งแหล่
ง
โบราณคดี
สำคั
ญคื
อ เขาพระเหนอ ซึ่
งต้
องป่
ายปี
นกั
นจากเชิ
งเขา
ที่
มี
ร่
องรอยฐานหิ
นที่
ประทั
บเมื่
อคราวพระบาทสมเด็
จพระมงกุ
ฏเกล้
า
เจ้
าอยู่
หั
ว เสด็
จประพาสขึ้
นไปจนถึ
งส่
วนยอดก็
พบซากอิ
ฐ
ที่
เป็
นเทวสถาน ส่
วนเทวรู
ปพระวิ
ษณุ
ที่
พบมี
ลั
กษณะที่
มี
สรี
ระ
อั
นงดง ามนั้
นไ ด้
นำ ไ ป ไ ว้
ที่
พิ
พิ
ธภั
ณฑ์
แห่
ง ชาติ
พร ะนคร
เป็
นหลั
กฐานใหม่
ที่
ยื
นยั
นความเป็
นเมื
องท่
าขนาดใหญ่
ของบ้
าน
ทุ่
งตึ
ก ส่
วนจะสรุ
ปว่
าเป็
นเมื
องท่
าตั
กโกลาตามที่
สั
นนิ
ษฐาน
ไว้
ก่
อนหรื
อไม่
นั้
น เป็
นเรื่
องที่
น่
าศึ
กษาต่
อ อย่
างน้
อยบริ
เวณเขา
พระเหนอนี้
ครั้
งหนึ่
งเคยเป็
นชุ
มชนใหญ่
อยู่
ตรงข้
ามกั
บแม่
น้
ำ
ตะกั่
วป่
า มี
การขนถ่
ายสิ
นค้
าลงเรื
อขนาดเล็
กเข้
าแม่
น้
ำตะกั่
วป่
า
เพื่
อลำเลี
ยงไปยั
งดิ
นแดนต่
าง ๆ โดยผ่
านลำน้
ำต่
าง ๆ ไปจนถึ
ง
ปากน้
ำแหลมโพธิ์
หรื
ออ่
าวบ้
านดอน เมื
องสุ
ราษฎร์
ธานี
หากถามว่
าทำไมต้
องเป็
นบริ
เวณบ้
านทุ่
งตึ
ก ก็
ต้
องยกให้
เป็
นความฉลาดของนั
กเดิ
นเรื
อที่
รู้
ทิ
ศทางลมและใช้
กระแสลม
ให้
เป็
นประโยชน์
อย่
างน้
อยก็
ไม่
ต้
องเดิ
นทางเลี
ยบฝั่
งไปจนถึ
ง
ช่
องแคบมะละกาให้
โจรสลั
ดปล้
นสะดมชิ
งสิ
นค้
าได้
ด้
วยเหตุ
นี้
การลำเลี
ยงสิ
นค้
าลงเรื
อขนาดเล็
กเข้
าใน
แม่
น้
ำสายต่
าง ๆ ตั
ดข้
ามไปยั
งฝั่
งตะวั
นออก ซึ่
งเป็
นอ่
าวไทยนั้
น
จึ
งถื
อว่
าเป็
นความฉลาดของพ่
อค้
าในอดี
ต แม้
ในปั
จจุ
บั
นก็
ยั
งใช้
วิ
ธี
การเดิ
ม คื
อ นำเรื
อขึ้
นรถบรรทุ
กวิ่
งข้
ามจากฝั่
งทะเลตะวั
นตก
(อั
นดามั
น) ไปยั
งฝั่
งทะเลตะวั
นออก (อ่
าวไทย)
ขดทองคำ
บนเขาพระนารายณ์
เส้
นทางท่
าพง-ทุ่
งตึ
ก