วารสารวั
ฒนธรรมไทย
17
อาคารมหาสุ
รสิ
งหนาท
อาคารประพาสพิ
พิ
ธภั
ณฑ์
เป็
นอาคาร
จั
ดแสดงทรงไทยประยุ
กต์
๒ หลั
ง อาคารหลั
งทิ
ศใต้
ชื่
อ
“อาคารมหา
สุ
รสิ
งหนาท”
ตั้
งขึ้
นเป็
นที่
ระลึ
กแก่
กรมพระราชวั
งบวรมหาสุ
รสิ
งหนาท
กรมพระราชวั
งบวรสถานมงคลพระองค์
แรกแห่
งกรุ
งรั
ตนโกสิ
นทร์
เป็
นที่
จั
ดแสดงศิ
ลปะต่
างประเทศและศิ
ลปะที่
ค้
นพบในประเทศไทย สมั
ยก่
อน
ศิ
ลปะไทย ได้
แก่
ศิ
ลปะเอเชี
ย ศิ
ลปะทวารวดี
ศิ
ลปะศรี
วิ
ชั
ย ศิ
ลปะลพบุ
รี
และเทวรู
ปโบราณ ส่
วนอาคารหลั
งทิ
ศเหนื
อชื่
อ
“อาคารประพาส
พิ
พิ
ธภั
ณฑ์
”
ตั้
งขึ้
นเป็
นที่
ระลึ
กแก่
พิ
พิ
ธภั
ณฑ์
สถานแห่
งแรกของ
ประเทศไทย ซึ่
งตั้
งอยู่
ที่
พระที่
นั่
งประพาสพิ
พิ
ธภั
ณฑ์
ในพระบรมมหาราชวั
ง
สมั
ยรั
ชกาลที่
๔ ใช้
เป็
นที่
จั
ดแสดงศิ
ลปะไทยสมั
ยต่
าง ๆ ได้
แก่
ศิ
ลปะ
สุ
โขทั
ย ศิ
ลปะอยุ
ธยา ศิ
ลปะรั
ตนโกสิ
นทร์
และประณี
ตศิ
ลป์
โรงราชรถ
เป็
นสถานที่
เก็
บรั
กษาและจั
ดแสดงราชรถและ
เครื่
องประกอบต่
าง ๆ ที่
ใช้
ในพระราชพิ
ธี
ถวายพระเพลิ
งพระบรมศพ
และพระศพที่
สำคั
ญคื
อ พระมหาพิ
ชั
ยราชรถ เวชยั
นตรราชรถ ราชรถ
น้
อยเกริ
น ส่
วนประกอบของพระเมรุ
มาศ พระโกศ พระยานมาศสามลำคาน
เป็
นต้
น
คุ
ณพ่
อคุ
ณแม่
สามารถพาเด็
ก ๆ และครอบครั
วไปเที่
ยวชม
พิ
พิ
ธภั
ณฑสถานแห่
งชาติ
พระนคร เพื่
อเรี
ยนรู้
ประวั
ติ
ศาสตร์
ความเป็
นมา
ของชนชาวไทยได้
ทุ
กวั
นพุ
ธ-วั
นอาทิ
ตย์
ยกเว้
นวั
นหยุ
ดนั
กขั
ตฤกษ์
ในเวลา
๐๙.๐๐-๑๖.๐๐ นาฬิ
กา โดยเสี
ยค่
าเข้
าชม คนไทย ๒๐ บาท ชาวต่
างประเทศ
๔๐ บาท และสำหรั
บนั
กเรี
ยน นั
กศึ
กษาในเครื่
องแบบ ภิ
กษุ
สามเณร
และนั
กบวชในศาสนาต่
าง ๆ เข้
าชมได้
โดยไม่
เสี
ยค่
าธรรมเนี
ยม
พิ
พิ
ธภั
ณฑ์
หุ่
นขี้
ผึ้
งไทย นครปฐม
พิ
พิ
ธภั
ณฑ์
หุ่
นขี้
ผึ้
งไทยนี้
เป็
นพิ
พิ
ธภั
ณฑ์
ที่
จั
ดแสดงหุ่
นขี้
ผึ้
ง
ที่
หล่
อจากไฟเบอร์
กลาสแห่
งแรกของประเทศไทย เกิ
ดจากแรงดลใจ
ของผู้
สร้
างสรรค์
กลุ่
มหนึ่
ง ซึ่
งนำโดยอาจารย์
ดวงแก้
ว พิ
ทยากรศิ
ลป์
ที่
มี
ความมุ่
งมั่
นในการที่
จะส่
งเสริ
ม เผยแพร่
และอนุ
รั
กษ์
ศิ
ลปวั
ฒนธรรม
ประเพณี
ไทย เพื่
อประโยชน์
ในการศึ
กษาค้
นคว้
าของเยาวชน ผลงานที่
จั
ดแสดงในพิ
พิ
ธภั
ณฑ์
หุ่
นขี้
ผึ้
งไทยนี้
เป็
นการถ่
ายทอดภาพบุ
คคล เหตุ
การณ์
ในประวั
ติ
ศาสตร์
วั
ฒนธรรมประเพณี
ชี
วิ
ตความเป็
นอยู่
ในสั
งคมแต่
ละ
ยุ
คสมั
ย จิ
นตนาการในวรรณคดี
จากตั
วอั
กษร ภาพเขี
ยน ภาพปั้
น ภาพถ่
าย
มาเป็
นรู
ปหุ่
นขี้
ผึ้
งในห้
องแสดงที่
มี
ความเหมื
อนจริ
ง
หุ่
นขี้
ผึ้
งที่
ถู
กสร้
างสรรค์
ขึ้
นแต่
ละชิ้
นมี
ความเหมื
อนคนจริ
ง
เป็
นอย่
างมาก ทั้
งสี
ผิ
ว เส้
นเลื
อด ไฝฝ้
า รอยตกกระบนใบหน้
า เส้
นผม นั
ยน์
ตา
เมื่
อมาประกอบกั
บเครื่
องแต่
งกาย และของประกอบต่
าง ๆ แล้
ว ทำให้
มี
ความรู้
สึ
กไปว่
าหุ่
นขี้
ผึ้
งที่
อยู่
ตรงหน้
าขณะนี้
ช่
างเหมื
อนคนจริ
งที่
มี
ชี
วิ
ต
ภายในพิ
พิ
ธภั
ณฑ์
แห่
งนี้
มี
การจั
ดแสดงเป็
นห้
องต่
าง ๆ
ตามเนื้
อหาที่
นำเสนอ โดยในห้
องแรกจั
ดเป็
นบรรยากาศที่
เห็
นได้
ทั่
วไป
ในสำนั
กงานที่
ทำการต่
าง ๆ มี
รู
ปหุ่
น
“สนใจในข่
าว”
(รู
ปหุ่
นคนอ่
าน
หนั
งสื
อพิ
มพ์
) และรุ
ปหุ่
น
“เลขาน่
ารั
ก”
(รู
ปหุ่
นพนั
กงานกำลั
งนั่
งทำงาน)
และมี
ห้
องที่
จั
ดแสดงรู
ปหุ่
นพระอริ
ยสงฆ์
ในอิ
ริ
ยาบท ซึ่
งเป็
น
เอกลั
กษณ์
ของท่
าน ในขณะที่
ญาติ
โยมไปพบท่
าน ประกอบด้
วยรู
ปหุ่
น
พระโพธิ
ญาณเถร (หลวงพ่
อชาสุ
ภทฺ
โท) วั
ดหนองป่
าพง จั
งหวั
ด
อุ
บลราชธานี
พระธรรมญาณมุ
นี
(สมณศั
กดิ์
ในช่
วงเวลาที่
สร้
างรู
ปหุ่
น)
วั
ดกวิ
ศราราม จั
งหวั
ดลพบุ
รี
พระครู
ภาวนารั
งษี
วั
ดใหญ่
ชั
ยมงคล
จั
งหวั
ดพระนครศรี
อยุ
ธยา
อี
กทั้
งยั
งมี
ห้
องที่
เป็
นการจำลองเรื่
องราวในประวั
ติ
ศาสตร์
จากภาพถ่
ายของสมเด็
จพระพุ
ฒาจารย์
(โต พรหมรั
งสี
) กำลั
งนั่
งบริ
กรรม
ในพิ
ธี
กรรมทางศาสนา พร้
อมด้
วยหุ่
นประกอบ ๔ รู
ป ในตำหนั
ก ซึ่
ง
จำลองรู
ปแบบมาจากหอไตรวั
ดระฆั
งโฆสิ
ตาราม กรุ
งเทพมหานคร
นอกจากนั้
นแล้
วยั
งมี
หุ่
นขี้
ผึ้
งชุ
ดพระบรมรู
ปอดี
ตพระมหา-
กษั
ตริ
ย์
ราชวงศ์
จั
กรี
ชุ
ดสมเด็
จพระปิ
ยมหาราชกั
บการเลิ
กทาส ชุ
ด
วรรณคดี
ไทย เรื่
องพระอภั
ยมณี
ชุ
ดครู
เพลงไทย ชุ
ดครอบครั
วไทย ที่
แสดง
ให้
เห็
นถึ
งความอบอุ่
นของสั
งคมไทย
พิ
พิ
ธภั
ณฑ์
หุ่
นขี้
ผึ้
งไทย จั
งหวั
ดนครปฐม เปิ
ดให้
เข้
าชมทุ
กวั
น
จั
นทร์
-วั
นศุ
กร์
เวลา ๙.๐๐-๑๗.๓๐ นาฬิ
กา วั
นเสาร์
อาทิ
ตย์
และวั
นหยุ
ด
ราชการ เวลา ๘.๓๐-๑๘.๐๐ นาฬิ
กา ค่
าเข้
าชมสำหรั
บคนไทย ผู้
ใหญ่
๕๐ บาท เด็
ก ๑๐ บาท สอบถามรายละเอี
ยดเพิ่
มเติ
มได้
ที่
โทรศั
พท์
๐ ๓๔๓๓ ๒๑๐๙
๔ พิ
พิ
ธภั
ณฑ์
๔ แบบที่
ได้
เลื
อกมานำเสนอในครั้
งนี้
อาจมี
เรื่
องราวการจั
ดแสดงที่
แตกต่
างกั
น แต่
รั
บประกั
นได้
ว่
าเต็
มเปี่
ยมไปด้
วยสาระ
ความรู้
ความสนุ
กสนานที่
เหมาะกั
บเด็
ก เยาวชน และครอบครั
ว ลองหา
เวลาว่
างเพื่
อไปเที่
ยวชมพิ
พิ
ธภั
ณฑ์
กั
นดู
สั
กครั้
ง รั
บรองได้
ว่
าวั
นหยุ
ด
คราวหน้
าเด็
ก ๆ จะร้
องขอ
คุ
ณพ่
อคุ
ณแม่
ว่
า
“หนู
อยาก
ไปพิ
พิ
ธภั
ณฑ์
ค่
ะ ครั
บ”
๑๑-๑๓ พิ
พิ
ธภั
ณฑ์
หุ่
นขี้
ผึ้
งไทย
๑๑
๑๒
๑๓