วารสารวั
ฒนธรรมไทย
38
วิ
จั
ยทางวั
ฒนธรรม
การศึ
กษาและพั
ฒนาศั
กยภาพศิ
ลปะการแสดงพื้
นบ้
านภาคใต้
กรณี
ศึ
กษา
:
ลิ
เกป่
าและสวดมาลั
ย
สิ
ริ
วิ
ภา....เรื่
อง
าคใต้
ของประเทศไทยมี
สภาพภู
มิ
ศาสตร์
วั
ฒนธรรม
ที่
แตกต่
างจากภาคอื่
น ๆ เนื่
องจากลั
กษณะของ
ภู
มิ
ประเทศของภู
มิ
ภาคนี้
ประกอบด้
วยสภาพที่
หลากหลาย คื
อ มี
ทั้
งพื้
นที่
ที่
เป็
นที่
ราบแคบ ๆ
บริ
เวณเชิ
งเขาเป็
นเกาะแก่
ง เป็
นที่
ลุ่
ม และที่
ราบติ
ดชายฝั่
งทะเล
ทำให้
มี
ผู้
คนต่
างถิ่
นจำนวนมากเดิ
นทางมาตั้
งถิ่
นฐานบริ
เวณดิ
น
แดนแถบนี้
เมื่
อความหลากหลายถู
กบ่
มเพาะด้
วยกาลเวลาก่
อให้
เกิ
ดภู
มิ
ปั
ญญาชาวบ้
านเฉพาะถิ่
นที่
เป็
นเอกลั
กษณ์
หรื
อที่
เรี
ยกว่
า
ภู
มิ
ปั
ญญาทั
กษิ
ณที่
เกิ
ดจากการพั
ฒนา การปรั
บตั
ว และปรั
บวิ
ถี
ชี
วิ
ต
ของคนภาคใต้
ที่
ประกอบด้
วยคนไทย จี
น อิ
นเดี
ย และมาเลย์
ที่
เข้
ามาตั้
งถิ่
นฐานเป็
นเวลานาน
ด้
วยเหตุ
นี้
ทำให้
วั
ฒนธรรมของชาติ
ต่
าง ๆ จึ
งแทรกอยู่
ใน
วั
ฒนธรรมของชาวภาคใต้
อย่
างกว้
างขวาง ทั้
งด้
านศิ
ลปะการแสดง
การแต่
งกาย อาหารการกิ
น เครื่
องมื
อเครื่
องใช้
ตลอดจนพิ
ธี
กรรม
ต่
าง ๆ วั
ฒนธรรมเหล่
านี้
ชาวภาคใต้
มี
ทั้
งที่
ชาวภาคใต้
รั
บมาโดยตรง
และที่
ผ่
านเข้
ามาทางชวา มลายู
เมื่
อรั
บมาแล้
วก็
นำมาปรั
บพั
ฒนา
เป็
นรู
ปแบบใหม่
บางอย่
างก็
รั
บมาบางส่
วนแล้
วเสริ
มแต่
งของเดิ
ม
ให้
พิ
สดารออกไป
ในสั
งคมภาคใต้
ศิ
ลปะการแสดง ไม่
ว่
าหนั
งตะลุ
ง มโนราห์
ดิ
เกร์
ฮู
ลู
เพลงบอก ร็
องแง็
ง สิ
ละ มะโย่
ง ลิ
เกป่
า สวดมาลั
ย ฯลฯ
ล้
วนเป็
นทุ
นทางวั
ฒนธรรม ซึ่
งเป็
นทุ
นชี
วิ
ตที่
สำคั
ญได้
แพร่
กระจาย
และมี
บทบาทในกลุ่
มชนภาคใต้
มาโดยตลอด ลิ
เกป่
าและสวดมาลั
ย
ก็
เป็
นมรดกทางวั
ฒนธรรมศิ
ลปะการแสดงที่
สื
บทอดและเป็
นที่
นิ
ยม
ของชาวจั
งหวั
ดภาคใต้
มายาวนาน แต่
ในปั
จจุ
บั
นได้
ลดบทบาทลง
ภ
อย่
างเห็
นได้
ชั
ด ลิ
เกป่
าที่
ได้
รั
บความนิ
ยมอย่
างแพร่
หลายทั้
งในหมู่
คนไทยฝั่
งตะวั
นออกและตะวั
นตกกลั
บมี
เหลื
ออยู่
เพี
ยงไม่
กี่
คณะ
หาดู
ได้
ยากขึ้
นทุ
กที
ในขณะที่
การสวดมาลั
ยอั
นเป็
นการแสดงประกอบ
งานศพก็
อยู่
ในสภาพเช่
นเดี
ยวกั
น ความเสื่
อมของลิ
เกป่
าและ
สวดมาลั
ยเกิ
ดจากการแพร่
กระจายของการละเล่
นและนั
นทนาการ
แบบใหม่
ที่
เข้
าถึ
งจิ
ตใจคนภาคใต้
ได้
ง่
ายและการไม่
พั
ฒนาตนเอง
ทั้
งเนื้
อหาและรู
ปแบบ อี
กทั้
งขาดสำนึ
กในรากเหง้
าทางวั
ฒนธรรม
ของตน นอกจากนี้
ผู้
เล่
นยึ
ดเป็
นอาชี
พไม่
ได้
และในการสื
บทอด
จะต้
องจดจำบทเพลงฝึ
กฝนจนแม่
นยำในเนื้
อร้
องและทำนอง จึ
งเป็
น
สิ่
งที่
ยาก การสวดมาลั
ยยั
งต้
องเล่
นหน้
าศพจึ
งหาตั
วผู้
เล่
นได้
ยาก
แนวโน้
มในอนาคตจึ
งค่
อนข้
างแน่
ชั
ดว่
าการละเล่
นสองชนิ
ดนี้
น่
าจะ
สู
ญสิ้
นไปในที่
สุ
ด
งานวิ
จั
ยเรื่
องการศึ
กษาและพั
ฒนาศั
กยภาพศิ
ลปะการ
แสดงพื้
นบ้
านภาคใต้
:
กรณี
ศึ
กษาลิ
เกป่
าและสวดมาลั
ย จึ
งมี
วั
ตถุ
ประสงค์
เพื่
อสกั
ดแก่
นความรู้
เกี่
ยวกั
บเรื่
องราวของลิ
เกป่
าและ
สวดมาลั
ย และค้
นหาแนวทางการอนุ
รั
กษ์
และพั
ฒนาการละเล่
น
ทั้
งสองชนิ
ด เพื่
อนำความรู้
มาใช้
อนุ
รั
กษ์
และพั
ฒนาลิ
เกป่
าและ
สวดมาลั
ยให้
คงอยู่
ตลอดไป โดยใช้
วิ
ธี
การเก็
บรวบรวมข้
อมู
ลจาก
เอกสาร การสำรวจ การสั
มภาษณ์
บุ
คคลในคณะลิ
เกป่
าและสวดมาลั
ย
และบุ
คคลที่
เกี่
ยวข้
อง รวมถึ
งการนำเอาวิ
ธี
การการจั
ดการความรู้
มาใช้
เพื่
อสกั
ดแก่
นความรู้
เกี่
ยวกั
บเรื่
องราวของการละเล่
นทั้
งสอง
สำหรั
บพื้
นที่
ในการวิ
จั
ยใช้
กลุ่
มตั
วอย่
างลิ
เกป่
าและสวดมาลั
ยเฉพาะ
ในเขตพื้
นที่
จั
งหวั
ดสุ
ราษฎร์
ธานี
เท่
านั้
น