Page 40 - june52

Basic HTML Version

วารสารวั
ฒนธรรมไทย
38
ทำไมต้
องมี
กฎหมายฉบั
บนี้
?
ก่
อนหน้
าที่
จะมี
กฎหมายฉบั
บนี้
เรามี
กฎหมาย
ที่
มี
ชื่
อว่
า พระราชบั
ญญั
ติ
ภาพยนตร์
พุ
ทธศั
กราช ๒๔๗๓,
พระราชบั
ญญั
ติ
ภาพยนตร์
(ฉบั
บที่
๒) พ.ศ. ๒๔๗๙,
ประกาศคณะปฏิ
วั
ติ
ฉบั
บที่
๒๐๕ (พ.ศ. ๒๕๑๕) ระเบี
ยบของ
กระทรวงมหาดไทย, ประกาศสำนั
กงานตำรวจแห่
งชาติ
(พ.ศ. ๒๕๔๓) เป็
นกฎหมายหลั
กในการกำกั
บดู
แลกิ
จกรรม
ทั้
งหลายทั้
งปวงที่
เกี่
ยวกั
บหนั
งในเมื
องไทย
กิ
จกรรมทั้
งหลายทั้
งปวงดั
งกล่
าวนี้
รวมไปหมด
ตั้
งแต่
หนั
งในประเทศ หนั
งต่
างประเทศ หนั
งเรื่
อง
หนั
งข่
าว หนั
งโฆษณา และหนั
งสารคดี
ตลอดไปจนถึ
การสร้
าง การฉาย การเผยแพร่
และการจั
ดจำหน่
าย
โดยหน่
วยงานของรั
ฐ คื
อ กระทรวงมหาดไทยกั
บกรมตำรวจ
(ซึ่
งต่
อมาเปลี่
ยนชื่
อเป็
นสำนั
กงานตำรวจแห่
งชาติ
) เป็
หน่
วยราชการผู้
ทำหน้
าที่
กำกั
บดู
แลกิ
จกรรมนี้
ตลอดมา
การกำกั
บดู
แลดั
งกล่
าว ค่
อนข้
างเน้
นไปในเรื่
อง
การฉายหนั
ง หรื
อการเผยแพร่
หนั
ง มากกว่
าการสร้
างหนั
เพราะฉะนั้
นพอเอ่
ยถึ
งพระราชบั
ญญั
ติ
หนั
งในเมื
องไทย
คน (ที่
เกี่
ยวข้
องกั
บกิ
จการหนั
ง) ก็
มั
กจะนึ
กถึ
งแต่
เรื่
องของ
การเซ็
นเซอร์
หรื
อการตรวจพิ
จารณาหนั
งก่
อนจะอนุ
ญาต
หรื
อไม่
อนุ
ญาตให้
ฉาย หรื
อเผยแพร่
เป็
นสำคั
ญ และ
เจ้
าหน้
าที่
ของรั
ฐที่
รั
บงานด้
านนี้
ไปทำโดยตรง ก็
คื
อ ตำรวจ
ซึ่
งมี
กองทะเบี
ยนกรมตำรวจ ทำหน้
าที่
นี้
มานานเท่
ากั
บอายุ
ประชาธิ
ปไตยในเมื
องไทย
การรั
บงานที่
“มากๆ และหนั
กๆ”
มาไว้
ในมื
ของคน
“น้
อย ๆ”
คื
อ เจ้
าหน้
าที่
ของรั
ฐกลุ่
มเดี
ยวย่
อมส่
งผล
ให้
เกิ
ดผลงานที่
ดี
บ้
างแย่
บ้
างเป็
นธรรมดา ซึ่
งต่
อมาเมื่
อโลก
เริ่
มเปิ
ดกว้
างมากขึ้
น หลายคนก็
เริ่
มมองเห็
นผลงานที่
แย่
มากกว่
าผลงานที่
ดี
(เป็
นธรรมดาอี
กเหมื
อนกั
น) นั้
น สร้
างเสี
ยง
วิ
พากษ์
วิ
จารณ์
ในทางลบเพิ่
มขึ้
น (เท่
าๆ กั
บการเปิ
ดกว้
างของ
โลก) ว่
า ทั้
งการกระทำและทั้
งกฎหมายที่
เกี่
ยวกั
บกิ
จการหนั
ซึ่
งปั
จจุ
บั
นได้
กลายเป็
นธุ
รกิ
จหรื
อเป็
นอุ
ตสาหกรรมอย่
างหนึ่
ไปแล้
วนั้
น จำเป็
นต้
องได้
รั
บการปรั
บปรุ
งแก้
ไข หรื
อไม่
ก็
ปฏิ
วั
ติ
กั
นใหม่
เสี
ยที
เสี
ยงวิ
พากษ์
วิ
จารณ์
เหล่
านี้
ดั
งขึ้
นเรื่
อย ๆ และ
ความพยายามที่
จะปรั
บปรุ
งกฎหมายและวิ
ธี
ปฏิ
บั
ติ
ที่
เกี่
ยวกั
การประกอบธุ
รกิ
จหนั
งก็
เกิ
ดขึ้
นเรื่
อย ๆ ในบางกาลเทศะต่
าง ๆ
ตลอดมา
“พระราชบั
ญญั
ติ
หนั
งฉบั
บเก่
า คื
อ การควบคุ
การเซ็
นเซอร์
นั่
นคื
อ ความรู้
สึ
กของคนส่
วนใหญ่
ที่
เกื
อบ
จะไม่
เคยอ่
านกฎหมาย ๒๓ มาตรา ของกฎหมายหนั
งปี
๒๔๗๓ และยิ่
งบางคนที่
เคยได้
รั
บผลจากข้
อห้
าม ๑๑ ข้
ของแนวทางการปฏิ
บั
ติ
ในการ
“ทำหรื
อฉาย หรื
อสำแดง
หรื
อประกาศ”
หนั
งของระเบี
ยบกระทรวงมหาดไทยฉบั
บปี
สองพั
นห้
าร้
อยกว่
า ๆ เข้
าไปอี
ก หลายคนจึ
งมี
ข้
อสรุ
ปว่
กฎหมายที่
เกี่
ยวกั
บหนั
งของประเทศไทยนั้
น เป็
นอุ
ปสรรค
ต่
อธุ
รกิ
จหรื
ออุ
ตสาหกรรมหนั
งมากกว่
าการส่
งเสริ
มธุ
รกิ
ซึ่
งข้
อสรุ
ปนี้
แม้
จะไม่
ถู
กต้
องนั
ก แต่
ก็
ไม่
ผิ
ดมากนั
กถ้
าเรา
จะสรุ
ปกั
นด้
วยความรู้
สึ
กของคนในยุ
คนี้
เปรี
ยบเที
ยบกั
เครื่
องมื
อเครื่
องใช้
ในยุ
คเก่
าก่
อน สมั
ยที่
พ่
อแม่
ของเรายั
งไม่
ได้
สร้
างเราให้
เกิ
ดขึ้
นมา
มี
ความพยายามอย่
างมากที่
จะปรั
บปรุ
งแก้
ไข
กฎหมายหนั
งในรั
ฐบาลไทยหลายยุ
ค ช่
วงทศวรรษ ๒๕๔๐
แต่
ความพยายามนั้
นก็
เพิ่
งจะเป็
นผลหลั
งจากที่
เวลาล่
วงเลย
ผ่
านมาเกื
อบสิ
บปี
พระราชบั
ญญั
ติ
ที่
ร่
างแล้
วร่
างเล่
า แก้
แล้
วแก้
อี
พอจะเดิ
นหน้
าได้
รั
ฐบาลก็
เปลี่
ยนแปลงเสี
ยอี
ก ต้
องรอ
ต้
องเลื่
อน ต้
องปรั
บเล็
กปรั
บใหญ่
กั
นอี
กหลายครั้
งหลายหน
จนอุ
ตสาหกรรมหนั
งผ่
านยุ
คฟิ
ล์
ม เป็
นยุ
ควี
ดิ
โอเทป ยุ
คซี
ดี
ยุ
คดี
วี
ดี
จนถึ
งยุ
คหนั
งผ่
านจอมื
อถื
อแล้
ว พระราชบั
ญญั
ติ
หนั
งฉบั
บล่
าสุ
ดของไทยจึ
งได้
ฤกษ์
คลอดออกมา
โชคดี
ที่
ระบบการหายใจของผมยั
งไม่
ล้
มเหลวไปก่
อน
ผมจึ
งยั
งมี
ชี
วิ
ตอยู่
จนได้
เห็
นพระราชบั
ญญั
ติ
หนั
งฉบั
บปี
พ.ศ. ๒๕๕๑ และได้
มี
โอกาสเป็
นผู้
เกี่
ยวข้
องกั
บการใช้
กฎหมายฉบั
บนี้
อยู่
ด้
วยคนหนึ่
งในปั
จจุ
บั