Page 15 - june52

Basic HTML Version

วารสารวั
ฒนธรรมไทย
13
การแต่
งตั้
งเป็
นขุ
นสุ
นทรโวหาร เป็
นกวี
ที่
ปรึ
กษาและคอยรั
บใช้
ใกล้
ชิ
ดพระองค์
ต่
อมาในปี
พ.ศ. ๒๓๖๔ สุ
นทรภู่
ต้
องติ
ดคุ
ก เนื่
องจาก
เมาสุ
ราอาละวาดและทำร้
ายผู้
ใหญ่
แต่
ติ
ดคุ
กอยู่
ได้
ไม่
นาน
ก็
พ้
นโทษ เพราะความสามารถในทางกลอนจึ
งเป็
นที่
พอ
พระราชหฤทั
ยของพระบาทสมเด็
จพระพุ
ทธเลิ
ศหล้
านภาลั
ในสมั
ยพระบาทสมเด็
จพระนั่
งเกล้
าเจ้
าอยู่
หั
ว รั
ชกาลที่
สุ
นทรภู่
ได้
ถู
กกล่
าวหาด้
วยเรื่
องเสพสุ
รา จึ
งถู
กถอดออกจาก
ตำแหน่
งขุ
นสุ
นทรโวหาร
จึ
งได้
ออกบวชและจำพรรษา
ที่
วั
ดราชบู
รณะ (วั
ดเลี
ยบ) แล้
วได้
ลาสิ
กขาในปี
พ.ศ. ๒๓๖˘
ขณะที่
ออกบวชท่
านได้
เดิ
นทางไปหลายแห่
ง ท่
านจึ
งได้
แต่
งนิ
ราศ
ไว้
หลายเรื่
อง อาทิ
นิ
ราศสุ
พรรณ นิ
ราศวั
ดเจ้
าฟ้
า และนิ
ราศ
ภู
เขาทอง
เมื่
อถึ
งสมั
ยพระบาทสมเด็
จพระจอมเกล้
าเจ้
าอยู่
หั
รั
ชกาลที่
๔ ได้
ครองราชย์
ทรงสถาปนาเจ้
าฟ้
ากรมขุ
นอิ
ศเรศ
รั
งสรรค์
เป็
นพระบาทสมเด็
จพระปิò
นเกล้
าเจ้
าอยู่
หั
ว ด้
วยความที่
สุ
นทรภู่
ได้
แต่
งโคลงกลอนเป็
นที่
ต้
องพระราชหฤทั
ย ท่
านจึ
งได้
รั
พระราชทานบรรดาศั
กดิ์
เป็
นพระสุ
นทรโวหาร ตำแหน่
เจ้
ากรมพระอาลั
กษณ์
ฝ่
ายพระราชวั
ง และรั
บราชการได้
๔ ปี
ก็
ถึ
งแก่
มรณกรรมในปี
พ.ศ. ๒๓˘๘
สำหรั
บผลงานของสุ
นทรภู่
นั้
น มี
อยู่
จำนวนมากมาย
หลายเรื่
องด้
วยกั
น แต่
เท่
าที่
ยั
งมี
ปรากฏอยู่
จนถึ
งปั
จจุ
บั
นนี้
ได้
แก่
-
ประเภทนิ
ราศ
อาทิ
นิ
ราศเมื
องแกลง นิ
ราศ
พระบาท นิ
ราศเมื
องสุ
พรรณ นิ
ราศภู
เขาทอง นิ
ราศพระประธม
นิ
ราศเมื
องเพชร
-
ประเภทนิ
ทาน
อาทิ
เรื่
องโคบุ
ตร เรื่
องพระอภั
มณี
เรื่
องสิ
งหไกรภพ เรื่
องลั
กษณวงศ์
เรื่
องพระไชยสุ
ริ
ยา
-
ประเภทสุ
ภาษิ
อาทิ
สวั
สดิ
รั
กษา และเพลงยาว
ถวายโอวาท
-
ประเภทบทเสภา
อาทิ
เรื่
องขุ
นช้
างขุ
นแผน เรื่
อง
พระราชพงศาวดาร
-
ประเภทบทเห่
กล่
อม
อาทิ
เห่
จั
บระบำ เห่
เรื่
อง
พระอภั
ยมณี
เห่
เรื่
องโคบุ
ตร และเห่
เรื่
องกากี
จะเห็
นได้
ว่
าผลงานของท่
านนั้
นยั
งเป็
นที่
ยกย่
องของคน
ทั่
วไปมาจนถึ
งปั
จจุ
บั
น เนื่
องจากเป็
นผลงานที่
มี
ความไพเราะ
สนุ
กสนาน และแฝงด้
วยคติ
สอนใจ อี
กทั้
งยั
งมี
คุ
ณค่
าทางด้
าน
ประวั
ติ
ศาสตร์
ในเรื่
องของสภาพบ้
านเมื
องที่
สะท้
อนถึ
งวิ
ถี
ชี
วิ
ความเป็
นอยู่
ของคนในสมั
ยนั้
นได้
เป็
นอย่
างดี
จึ
งทำให้
กระทรวง
ศึ
กษาธิ
การนำผลงานนิ
พนธ์
ของท่
านหลายเรื่
องมาใส่
ไว้
ใน
บทเรี
ยนให้
เยาวชนได้
ศึ
กษาต่
อไป
นอกจากนี้
หลั
งจากที่
ยู
เนสโกได้
ประกาศยกย่
อง
ให้
สุ
นทรภู่
เป็
นผู้
มี
ผลงานดี
เด่
นทางวั
ฒนธรรมระดั
บโลก
ในปี
พ.ศ. ๒๕๒˘ แล้
ว ต่
อมาในปี
พ.ศ. ๒๕๓๐ รั
ฐบาลไทย
ได้
กำหนดให้
วั
นที่
๒๖ มิ
ถุ
นายนของทุ
กปี
เป็
นวั
นสุ
นทรภู่
เพื่
อเป็
นการยกย่
องเชิ
ดชู
เกี
ยรติ
แก่
สุ
นทรภู่
ที่
สร้
างสรรค์
ผลงาน
นิ
พนธ์
อั
นทรงคุ
ณค่
าแก่
แผ่
นดิ
นไว้
เป็
นจำนวนมาก
เนื่
องในวั
นสุ
นทรภู่
ซึ่
งตรงกั
บวั
นที่
๒๖ มิ
ถุ
นายน
ของทุ
กปี
ที่
จะเวี
ยนมาถึ
งนี้
เพื่
อเป็
นการรำลึ
กถึ
งสุ
ดยอดกวี
เอก
แห่
งกรุ
งสยาม สำนั
กงานคณะกรรมการวั
ฒนธรรมแห่
งชาติ
กระทรวงวั
ฒนธรรม จึ
งขอเชิ
ญชวนเด็
ก เยาวชน และประชาชน
ทั่
วไปร่
วมกั
นยกย่
องเชิ
ดชู
เกี
ยรติ
และเผยแพร่
ผลงานอั
นทรง
คุ
ณค่
าของท่
าน เนื่
องจากผลงานของท่
านแต่
ละชิ้
นนั้
น สามารถ
ถ่
ายทอดวั
ฒนธรรม ขนบธรรมเนี
ยมประเพณี
ที่
ดี
งามของไทย
ที่
สะท้
อนความเป็
นไทยได้
เป็
นอย่
างดี
สามารถเป็
นแบบอย่
าง
เรื่
องของการใช้
ภาษาไทยให้
แก่
อนุ
ชนรุ่
นหลั
งที่
มี
ความสนใจ
ในด้
านการแต่
งบทประพั
นธ์
ต่
อไปในอนาคต