วารสารวั
ฒนธรรมไทย
32
วิ
จั
ยทางวั
ฒนธรรม
นั
งสื
อพิ
มพ์
เป็
นสื่
อแขนงหนึ่
งที่
มี
ในสั
งคมไทยของเรา
มานานกว่
า ๑๕๐ ปี
แล้
ว (พ.ศ. ๒๓๘๗-๒๕๔๐)
ที่
สำคั
ญสามารถหาซื้
อได้
ง่
าย พกพาสะดวก และ
ราคาค่
อนข้
างถู
กกว่
าสื่
ออื่
น ๆ นอกจากนี้
หนั
งสื
อพิ
มพ์
ยั
งมี
พั
ฒนาการในตั
วของมั
นเองมาโดยตลอด ทั้
งการนำเสนอ
เนื้
อหาสาระในหนั
งสื
อพิ
มพ์
ในรู
ปแบบของถ้
อยคำภาษาหรื
อ
วั
จนภาษาและภาษาภาพ ขนาดตั
วอั
กษร รวมถึ
งเครื่
องหมาย
และวรรคตอนต่
าง ๆ ที่
เราเรี
ยกว่
าอวั
จนภาษา ที่
มี
การพั
ฒนาควบคู่
มากั
บหนั
งสื
อพิ
มพ์
อย่
างเห็
นได้
ชั
ด พั
ฒนาการดั
งกล่
าวนี้
มี
อิ
ทธิ
พล
ต่
อการใช้
ภาษาของปั
จเจกบุ
คคลและสั
งคม ขณะเดี
ยวกั
นการใช้
ภาษาของบุ
คคลและสั
งคมก็
มี
อิ
ทธิ
พลต่
อการใช้
ภาษาของ
หนั
งสื
อพิ
มพ์
เช่
นกั
น
หนั
งสื
อพิ
มพ์
ได้
ถู
กวงการศึ
กษาและสั
งคมวิ
พากษ์
วิ
จารณ์
ในเรื่
องของการใช้
ภาษามาโดยตลอดว่
ามี
การใช้
ภาษาที่
ไม่
ถู
กต้
อง
และไม่
เหมาะสม ภาษาที่
ใช้
ในการรายงานข่
าวและการนำเสนอ
เนื้
อหาที่
ค่
อนข้
างรุ
นแรง ทำให้
ส่
งผลกระทบด้
านภาษาวั
ฒนธรรม
ต่
อสื่
อมวลชนอื่
น ต่
อสั
งคม และปั
จเจกบุ
คคลทุ
กระดั
บอย่
าง
กว้
างขวาง บรรดาพวกตั
วแทนของหนั
งสื
อพิ
มพ์
มั
กตอบโต้
ว่
า
หนั
งสื
อพิ
มพ์
มี
หน้
าที่
ในการเสนอข่
าวสาร มิ
ใช่
เป็
นครู
สอนภาษาไทย
ดั
งนั้
นเราจึ
งต้
องยอมรั
บว่
าสื่
อมี
อิ
ทธิ
พลอย่
างมากต่
อการกำหนด
รู
ปแบบการรั
บรู้
ของคน ถ้
ารู
ปแบบภาษาของสื่
อเปลี่
ยน รู
ปแบบ
การรั
บรู้
ของคนจากการอ่
านสื่
อก็
ต้
องเปลี่
ยนไปด้
วย
งานวิ
จั
ยเรื่
องพั
ฒนาการการใช้
ภาษาของหนั
งสื
อพิ
มพ์
ไทย
ตั้
งแต่
พ.ศ. ๒๕๐๑-๒๕๔๐ จึ
งมี
วั
ตถุ
ประสงค์
เพื่
อศึ
กษาลั
กษณะ
และพั
ฒนาการของการใช้
ภาษาในข่
าวหน้
า ๑ ของหนั
งสื
อพิ
มพ์
ในระยะ ๔๐ ปี
ที่
ผ่
านมา การวิ
เคราะห์
ความเปลี่
ยนแปลงของ
การใช้
ภาษาในหนั
งสื
อพิ
มพ์
ทั้
งในส่
วนวั
จนภาษาและอวั
จนภาษา
ว่
าการพั
ฒนาการของการใช้
ภาษาทั้
ง ๒ ส่
วนนี้
สอดคล้
องหรื
อ
ผกผั
นกั
นอย่
างไร และเพื่
อหาข้
อมู
ลภาษาหนั
งสื
อพิ
มพ์
ในแต่
ละ
ยุ
คสมั
ยเปรี
ยบเที
ยบพั
ฒนาการการใช้
ภาษาในสื่
อและงานอื่
นต่
อไป
สำหรั
บขอบเขตของงานวิ
จั
ยนั้
น เนื่
องจากผู้
วิ
จั
ยได้
กำหนดระยะเวลาของเอกสารหนั
งสื
อพิ
มพ์
ที่
จะศึ
กษาไว้
นานถึ
ง
๔๐ ปี
จึ
งจำเป็
นต้
องกำหนดไว้
ว่
าจะมุ่
งศึ
กษาเฉพาะภาษาพาดหั
วข่
าว
หน้
า ๑ ของหนั
งสื
อพิ
มพ์
รายวั
นภาษาไทยที่
ออกจากกรุ
งเทพฯ
ทั้
งด้
านวั
จนภาษาและอวั
จนภาษา และคั
ดเลื
อกเฉพาะหนั
งสื
อพิ
มพ์
รายวั
นที่
มี
อายุ
ต่
อเนื่
องมากที่
สุ
ดในรอบ ๔๐ ปี
ซึ่
งคั
ดได้
๓ ชื่
อ คื
อ
หนั
งสื
อพิ
มพ์
สยามรั
ฐ หนั
งสื
อพิ
มพ์
ไทยรั
ฐ หนั
งสื
อพิ
มพ์
เดลิ
นิ
วส์
และไม่
ระบุ
ว่
าเป็
นประเภทคุ
ณภาพหรื
อประชานิ
ยมของการ
เก็
บข้
อมู
ล
การวิ
จั
ยนี้
จะใช้
วิ
ธี
การเก็
บรวบรวมข้
อมู
ลโดยวิ
ธี
การวิ
จั
ย
เอกสาร การวิ
เคราะห์
เนื้
อหา ประกอบกั
บการเก็
บข้
อมู
ล
ทางประวั
ติ
ศาสตร์
โดยเก็
บข้
อมู
ลพาดหั
วข่
าวในอดี
ตตั้
งแต่
พ.ศ. ๒๕๐๑-๒๕๔๐ แล้
วนำมาวิ
เคราะห์
ด้
วยหลั
กการวิ
เคราะห์
ภาษาเพื่
อการสื่
อสาร
จากการวิ
จั
ยดั
งกล่
าวพบว่
า สามารถนำมาซึ่
งการสรุ
ปผล
เป็
นแนวคิ
ดได้
๒ แนวคิ
ด คื
อ แนวคิ
ดเรื่
องภาษาเพื่
อการสื่
อสาร
และแนวคิ
ดเรื่
องภาษาเพื่
อพาดหั
วข่
าว
แนวคิ
ดเรื่
องภาษาเพื่
อการสื่
อสาร
จะมี
ทั้
งด้
านวั
จนภาษา
และอวั
จนภาษาดั
งนี้
แนวคิ
ดด้
านวั
จนภาษา
พบว่
า หนั
งสื
อพิ
มพ์
สยามรั
ฐ
มี
ลั
กษณะของการรายงานข่
าวมากกว่
าหนั
งสื
อพิ
มพ์
ไทยรั
ฐและ
เดลิ
นิ
วส์
ที่
มี
ลั
กษณะภาษาในลั
กษณะของการเล่
าข่
าวเป็
นหลั
ก
โดยภาพรวมแล้
วหนั
งสื
อพิ
มพ์
สยามรั
ฐจะมี
ความสมบู
รณ์
ในเรื่
อง
ของรู
ปประโยค การเรี
ยงประโยคที่
ถู
กต้
องตามหลั
ก ระดั
บของ
ภาษาสื่
อสารกั
บผู้
อ่
านยั
งเป็
นภาษากึ่
งแบบแผนที่
มี
ลั
กษณะผสม
ระหว่
างภาษาปากและภาษาแบบแผน แต่
ยั
งไม่
เข้
าระดั
บภาษามาตรฐาน
ถึ
งแม้
ว่
าในยุ
คหลั
ง ๆ จะเริ่
มปรั
บให้
เป็
นภาษาปากมากขึ้
นตาม
การเปลี่
ยนแปลงของเนื้
อหาที่
นำเสนอก็
ตาม สำหรั
บหนั
งสื
อพิ
มพ์
ไทยรั
ฐและเดลิ
นิ
วส์
นั้
น จะเป็
นการสื่
อสารกั
บผู้
อ่
านแบบเล่
าข่
าว
โดยเฉพาะหนั
งสื
อพิ
มพ์
ไทยรั
ฐนั้
นระดั
บการสื่
อสารกั
บผู้
อ่
าน
พั
ฒนาการการใช้
ภาษาของหนั
งสื
อพิ
มพ์
ไทย
พ.ศ. ๒๕๐๑-๒๕๔๐
ห
สิ
งหา....เรื่
อง