Page 29 - july52

Basic HTML Version

วารสารวั
ฒนธรรมไทย
27
พระปรมั
ตถธรรมคำกาพย์
วรรณกรรมท้
องถิ่
นภาคใต้
เรื่
องพระปรมั
ตถธรรม
คำกาพย์
เป็
นวรรณกรรมที่
บั
นทึ
กในหนั
งสื
อบุ
ดขาว ที่
พบแล้
มี
ทั้
งฉบั
บสมบู
รณ์
และที่
ชำรุ
ดไม่
น้
อยกว่
า ๓๐ ฉบั
บ พบกระจายอยู่
ทั่
วไปทั่
วภาคใต้
มี
ชื่
อเรี
ยกแตกต่
างกั
นคื
“พระบอริ
มั
ด”
“พระบอระมั
ด” “พระสี
บอริ
มั
ด”
และ
“นี่
หนาในร่
าง”
สารั
ตถะ
สำคั
ญของพระปรมั
ตถธรรมคำกาพย์
คื
อ การชี้
ให้
พุ
ทธบริ
ษั
เข้
าถึ
งเนื้
อธรรมขั้
นปรมั
ตถธรรม (ประโยชน์
อย่
างยิ่
ง, ความจริ
อั
นเป็
นที่
สุ
ด, ลึ
กซึ้
งยากที่
ปุ
ถุ
ชนจะเข้
าใจได้
) อั
นเป็
นปู
ชนี
ยวั
ตถุ
ขั้
นเอกอุ
ตรงกั
บนั
ยของ
“รั
ตนตรั
ย”
หรื
“แก้
วสามประการ”
หรื
อพระพุ
ทธคุ
ณ พระธรรมคุ
ณ และพระสั
งฆคุ
ณ วรรณกรรม
เรื่
องนี้
แสดงให้
เห็
นถึ
งความเป็
นปราชญ์
ของผู้
รจนาทั้
งด้
านศาสนา
ด้
านภาษา และวรรณศิ
ลป์
พลายจำเริ
ญ (คชานุ
สรณ์
) คำกาพย์
วรรณกรรมท้
องถิ่
นภาคใต้
เรื่
องนี้
เป็
นเรื่
องเดี
ยวที่
ตั
วเอก
ของเรื่
องเป็
นสั
ตว์
เนื้
อหาของวรรณกรรมได้
มาจากเรื่
องราวจริ
ง ๆ
ของช้
างพลายเชื
อกหนึ่
ง คื
อ พลายจำเริ
ญ ซึ่
งเป็
นช้
างของตระกู
ณ นคร ช้
างเชื
อกนี้
บางกระแสบอกว่
ามี
ชี
วิ
ตอยู่
ในสมั
ยรั
ชกาล
ที่
๓-๔ แต่
บางกระแสบอกว่
ามี
ชี
วิ
ตอยู่
ในสมั
ยรั
ชกาลที่
๔-๗
แห่
งกรุ
งรั
ตนโกสิ
นทร์
เรื่
องนี้
จึ
งยั
งสั
บสนอยู่
ผู้
แต่
งเรื่
องนี้
คื
พระปลั
ดเลี่
ยม อาสโย (เลี่
ยม นาครภั
ฏ) มี
ชี
วิ
ตอยู่
ตั้
งแต่
สมั
รั
ชกาลที่
๕ (พ.ศ. ๒๔๒๙) และเสี
ยชี
วิ
ตเมื่
อปี
พ.ศ. ๒๕๑๐
เนื้
อเรื่
องเล่
าเรื่
องราวของพลายจำเริ
ญตั้
งแต่
เกิ
ดจนถึ
งล้
มว่
าเป็
ช้
างแสนรู้
มี
ความรู้
สึ
กนึ
กคิ
ดและมี
พฤติ
กรรมคล้
ายมนุ
ษย์
รั
กผู้
เลี้
ยงที่
มี
ความเมตตากรุ
ณา และทำร้
ายผู้
เลี้
ยงที่
หยาบช้
ทารุ
ณ และไม่
รั
กษาสั
ญญาถึ
งแก่
สิ้
นชี
วิ
ตเสี
ยมากต่
อมาก
ผลสุ
ดท้
ายช้
างเชื
อกนี้
ถู
กช้
างเถื่
อนรุ
มแทงจนเสี
ยชี
วิ
ต ในเรื่
องนี้
นอกจากเล่
าเรื่
องราวของพลายจำเริ
ญแล้
ว ยั
งสอดแทรกสาระ
สำคั
ญเกี่
ยวกั
บการดำรงชี
วิ
ต สภาพสั
งคม ประเพณี
วั
ฒนธรรม
ของชาวภาคใต้
ไว้
อย่
างน่
าสนใจอี
กด้
วย
บทส่
งท้
าย
การนำวรรณกรรมท้
องถิ่
นภาคใต้
จาก
“วรรณกรรม
ทั
กษิ
ณ : วรรณกรรมคั
ดสรร”
มากล่
าวถึ
งเพี
ยง ๕ เรื่
อง
เป็
นส่
วนเสี้
ยวเล็
กๆ เพื่
อชี้
แนะให้
เห็
นว่
า วรรณกรรมดั
งกล่
าวมิ
ใช่
กองขยะหรื
อสุ
สานทางวั
ฒนธรรม แต่
เป็
นสิ่
งที่
ทรงคุ
ณค่
าอย่
าง
อเนกอนั
นต์
ต่
อสั
งคม หากมุ่
งที่
จะศึ
กษาให้
ถึ
งแก่
นสาร และนำมา
ใช้
ประโยชน์
อย่
างจริ
งจั
ง วรรณกรรมท้
องถิ่
นภาคใต้
แม้
จะสู
ญเสี
ไปมาก แต่
ก็
ยั
งมี
ต้
นฉบั
บหลงเหลื
อกระจั
ดกระจายอยู่
ตามวั
ด และ
ที่
เป็
นสมบั
ติ
ส่
วนตั
ว อี
กส่
วนหนึ่
งประมาณไม่
น้
อยกว่
าหมื่
นเล่
ทั้
งหนั
งสื
อบุ
ด หนั
งสื
อใบลาน และหนั
งสื
อเล่
มเล็
กที่
พิ
มพ์
เผยแพร่
ในยุ
ค เ ก่
ายั
งคงกร ะจั
ดกร ะจายอยู่
ทั่
ว ไปในพื้
นที่
ภาค ใ ต้
วรรณกรรมเหล่
านี้
เป็
นมรดกทางภู
มิ
ปั
ญญาของชาติ
ที่
กำลั
รอการเสื่
อมสู
ญ หากไม่
สนใจศึ
กษากั
นอย่
างจริ
งจั
ง การศึ
กษาแค่
“วรรณกรรมทั
กษิ
ณ : วรรณกรรมคั
ดสรร”
ได้
เพี
ยง ๘๔ เรื่
อง
ยั
งเป็
นส่
วนเสี้
ยวที่
น้
อยนิ
ดซึ่
งไม่
เพี
ยงพอต่
อการอยู่
รอดตลอดไป
ของวรรณกรรมดั
งกล่
าว อนึ่
ง เครื่
องมื
อที่
ใช้
ในการศึ
กษาที่
สำคั
ญยิ่
อย่
างหนึ่
ง คื
อ การเรี
ยนรู้
ขอม-บาลี
และขอม-ไทย หากในส่
วนนี้
ผู้
รู้
ยั
งคงหดหายไปเรื่
อย ๆ วรรณกรรมจากหนั
งสื
อบุ
ดที่
บั
นทึ
กด้
วย
อั
กษรขอมก็
คงมี
โอกาสแพร่
หลายได้
ยาก การฟื้
นกลั
บไปเรี
ยนรู้
สิ่
งดั
งกล่
าวน่
าจะยั
งไม่
สายเกิ
นไป หากสถาบั
นการศึ
กษา
ที่
ชู
นโยบายว่
“เป็
นสถาบั
นอุ
ดมศึ
กษาเพื่
อพั
ฒนาท้
องถิ่
น”
เอาจริ
งเอาจั
งกั
บเรื่
องนี้
รวมทั้
งสถาบั
นวิ
จั
ยต่
าง ๆ ในระดั
บชาติ
สนใจสนั
บสนุ
นทุ
นวิ
จั
ย และส่
งเสริ
มการนำไปใช้
ประโยชน์
ด้
านการพั
ฒนาอย่
างจริ
งจั