Page 28 - july52

Basic HTML Version

วารสารวั
ฒนธรรมไทย
26
เสี้
ยวหนึ่
งจากวรรณกรรมทั
กษิ
ณ : วรรณกรรมคั
ดสรร
ได้
กล่
าวมาในตอนต้
นแล้
วว่
า คณะผู้
ศึ
กษาวิ
จั
ยจำนวน
มากกว่
า ๔๐ คน ได้
เริ่
มเสาะหาต้
นฉบั
บวรรณกรรมจากแหล่
เก็
บรวบรวมวรรณกรรมในภาคใต้
มาตรวจสอบและคั
ดเลื
อก
จากวรรณกรรมจำนวนหลายพั
นเล่
ม โดยศึ
กษาในลั
กษณะ
วรรณกรรมปฏิ
ทั
ศน์
จำนวนมากกว่
า ๔๐๐ เรื่
อง แล้
วดำเนิ
นการคั
ดสรร
จนเหลื
อเพี
ยง ๘๔ เรื่
อง ทั้
ง ๘๔ เรื่
องนี้
ล้
วนน่
าสนใจทั้
งสิ้
ในที่
นี้
จะกล่
าวถึ
งส่
วนเสี้
ยวเล็
ก ๆ จากวรรณกรรม
เพี
ยงบางเรื่
อง เพื่
อสนั
บสนุ
“ความมี
อะไรในวรรณกรรมทั
กษิ
ณ :
วรรณกรรมคั
ดสรร”
ตำนานสร้
างโลกฉบั
บบ้
านป่
าลาม
ตำนานฉบั
บนี้
เป็
นหนั
งสื
อบุ
ด ผู้
เป็
นเจ้
าของเป็
นหมอ
พื้
นบ้
านที่
บ้
านป่
าลาม ตำบลช้
างไห้
ตก อำเภอโคกโพธิ์
จั
งหวั
ปั
ตตานี
เนื้
อเรื่
องหนั
กไปทางตำนานฮิ
นดู
ที่
ได้
มี
การปรั
บแต่
เพื่
อให้
มี
ความสอดคล้
องกั
บสภาพภู
มิ
ศาสตร์
และสภาพสั
งคม
ของกลุ่
มชนในท้
องถิ่
นภาคใต้
ตอนล่
าง มี
คติ
ความเชื่
อในทาง
พุ
ทธศาสนาและคติ
ความเชื่
อดั้
งเดิ
มของมลายู
ในท้
องถิ่
นผสมผสาน สะท้
อนการ
ปฏิ
สั
มพั
นธ์
กั
บคนต่
า ง ถิ่
น ใ กล้
ไ กล
กล่
าวถึ
งการเกิ
ดของสรรพสิ่
งที่
ตั
วเอก
ของตำนาน คื
อ พระอิ
ศวร และพระอุ
มา
เป็
นผู้
ให้
ทั้
งโลกนี้
และจั
กรวาล การเกิ
หยู
กยา มนต์
คาถา ตลอดจน
พิ
ธี
กรรมต่
าง ๆ ที่
มี
ต่
อเนื่
องมา
จนถึ
งปั
จจุ
บั
นนี้
เช่
น พิ
ธี
กรรมใน
การเกิ
ด การแต่
งงาน การทำศพ
การทำไร่
ทำนา การทำขวั
ญข้
าว
เป็
นต้
โองการพญากรู
ต้
นฉบั
บวรรณกรรมเล่
มนี้
เป็
นหนั
งสื
อบุ
ดขาว
ศู
นย์
วั
ฒนธรรมมหาวิ
ทยาลั
ยราชภั
ฏภู
เก็
ตเก็
บรวบรวมไว้
ต้
นฉบั
บเขี
ยนว่
“ตั
มราองการพญากรู
ด”
วรรณกรรมฉบั
บนี้
แปลกกว่
าโองการฉบั
บอื่
น ๆ กล่
าวคื
อ ได้
กำหนดเอาต้
นไม้
คื
อ ต้
นมะกรู
ด จากภู
เขาสหั
สบรรพตมาเป็
นพญายา ด้
วยอำนาจ
ฤทธิ์
แห่
งพระผู้
เป็
นเจ้
าที่
กำกั
บไว้
โดยมอบหมายให้
เจ้
าพิ
ธี
(หมอ)
นำไปรั
กษาคนป่
วย เนื้
อหาทั้
งหมดมี
๑๑ ส่
วน คื
อ เริ่
มจาก
การสดุ
ดี
พระพุ
ทธ พระธรรม พระสงฆ์
การให้
ความสำคั
ญต่
มะกรู
ดในฐานะพญายา การกล่
าวถึ
งพระอิ
ศวรณรายณ์
และ
พลั
งธรรมชาติ
ของสมุ
นไพรมะกรู
ด และความเชื่
อมั่
นทางจิ
การนำเอาคาถาอาคมและอำนาจของพระรั
ตนตรั
ยมาช่
วยขจั
ปั
ดเป่
าให้
เคราะห์
ร้
ายหาย การทำคุ
ณไสย และการสะเดาะเคราะห์
เภทภั
ยจากการถู
กกระทำทางไสยศาสตร์
การกล่
าวถึ
งสรรพพิ
ทั้
งหลาย การนำเอาพุ
ทธมนต์
คื
อ อิ
ติ
ปิ
โสมาใช้
การอ้
างอำนาจ
จากพระฤๅษี
เพื่
อปั
ดเป่
าสรรพพิ
ษให้
หาย การแก้
อาถรรพณ์
คุ
ณไสย คุ
ณผี
คุ
ณยา การกล่
าวถึ
งพญายาอี
กอย่
างหนึ่
ง คื
พระไพล การใช้
ธรณี
สารปั
ดเป่
าเสนี
ยดจั
ญไร และสุ
ดท้
ายกล่
าวถึ
ข้
อปฏิ
บั
ติ
สำหรั
บหมอ
จารึ
กแผ่
นทองที่
ปลี
ยอดพระมหาธาตุ
เจดี
ย์
นครศรี
ธรรมราช
จารึ
กแผ่
นทองดั
งกล่
าวนี้
มี
จำนวนมากกว่
า ๕๐ แผ่
เย็
บต่
อกั
นด้
วยเส้
นด้
ายทองคำ เป็
นผื
นใหญ่
หุ้
มไว้
รอบปลี
ยอดพระบรมธาตุ
แต่
ละแผ่
นทำขึ้
นต่
างปี
ต่
าง พ.ศ. การบู
รณาการ
ปฏิ
สั
งขรณ์
พระบรมธาตุ
เจดี
ย์
เมื่
อปี
พ.ศ. ๒๕๓๓
ช่
วยให้
ทราบความกระจ่
างเรื่
องราวต่
าง ๆ หลายประการ
จารึ
กดั
งกล่
าวมี
ทั้
งที่
จารึ
กด้
วยอั
กษรขอม และ
อั
กษรไทย การทำแผ่
นทองหุ้
มปลี
ยอดพระธาตุ
เป็
นพุ
ทธบู
ชากระทำกั
นหลายคราว
ศั
ก ร า ช เ ก่
า ที่
สุ
ด อ ยู่
ใ นสมั
อยุ
ธยาคื
อ พุ
ทธศั
กราช ๒๑๕๕
ตรงกั
บรั
ชสมั
ยสมเด็
จพระเอกา
ทศรถ จารึ
กแผ่
นทองที่
บอกศั
กราช
มี
จำนวน ๑๘ แผ่
น ใช้
อั
กษรขอมล้
วน ๆ
๙ แผ่
น ใช้
อั
กษรไทยล้
วน ๒ แผ่
ใช้
อั
กษรขอมและอั
กษรไทย จำนวน ๗ แผ่
อั
กษรไทยที่
มี
อายุ
เก่
าที่
สุ
ด คื
อ พ.ศ. ๒๑๕๙
จารึ
กแผ่
นทองคำดั
งกล่
าวนี้
ได้
ให้
ความกระจ่
าง
ด้
านพั
ฒนาการใช้
อั
กษรและอั
กษรศาสตร์
ของผู้
คงแก่
เรี
ยน
หรื
อปราชญ์
ชาวบ้
านภาคใต้
ได้
แก่
วั
ฒนธรรมการใช้
อั
กษรขอม
และอั
กษรไทยในสมั
ยอยุ
ธยาจนถึ
งสมั
ยต้
นรั
ตนโกสิ
นทร์
กล่
าวคื
ระบุ
ชั
ดว่
าในแผ่
นดิ
นพระเอกาทศรถในภาคใต้
มี
การใช้
ภาษาไทย
กั
นแล้
ว นอกจากนี้
จารึ
กแผ่
นทองชุ
ดดั
งกล่
าวได้
แสดงถึ
งวั
ฒนธรรม
การใช้
ศาสนจั
กรเป็
นเครื่
องจรรโลงอาณาจั
กร อี
กทั้
งยั
งเสริ
มย้
ให้
กระจ่
างชั
ดด้
านพุ
ทธศาสนาแบบลั
งกาวงศ์
ในภาคใต้
ด้
วย