Page 15 - july52

Basic HTML Version

วารสารวั
ฒนธรรมไทย
13
จึ
งเรี
ยกเทศ กั
ณฑ์
นี้
ว่
“ปฐมเทศนา”
หรื
ออี
กนั
ยหนึ่
งอาจจะ
กล่
าวได้
ว่
านั
บเป็
นวั
นแรกที่
พระพุ
ทธเจ้
าทรงประกาศพระพุ
ทธศาสนา
ยั
งมี
อี
กวั
นสำคั
ญทางพุ
ทธศาสนาอี
กวั
นหนึ่
งที่
สำคั
ไม่
แพ้
กั
น คื
อ วั
นเข้
าพรรษา การเข้
าพรรษาเป็
นพุ
ทธบั
ญญั
ติ
ซึ่
งพระภิ
กษุ
ทุ
กรู
ปจะต้
องปฏิ
บั
ติ
ตาม หมายถึ
ง การอธิ
ฐาน
อยู่
ประจำที่
ไม่
เที่
ยวจาริ
กไปยั
งสถานที่
ต่
าง ๆ เว้
นแต่
มี
กิ
จจำเป็
นจริ
ง ๆ
ช่
วงจำพรรษาจะอยู่
ในช่
วงฤดู
ฝน คื
อ แรม ๑ ค่
ำ เดื
อน ๘ ถึ
งขึ้
๑๕ ค่
ำ เดื
อน ๑๑ ของทุ
กปี
ดั
งนั้
นวั
นเข้
าพรรษา หมายถึ
วั
นที่
พระภิ
กษุ
ในพระพุ
ทธศาสนาอธิ
ฐานอยู่
ประจำในวั
ดหรื
เสนาสนะที่
คุ้
มแดดคุ้
มฝนได้
แห่
งหนึ่
งไม่
ไปค้
างแรมในที่
อื่
ตลอด ๓ เดื
อนในฤดู
ฝน
วั
นเข้
าพรรษานี้
มี
ความสำคั
ญต่
อพระพุ
ทธศาสนิ
กชน
และเป็
นวั
นสำคั
ญของพระพุ
ทธศาสนาดั
งนี้
๑. พระภิ
กษุ
จะหยุ
ดจาริ
กไปยั
งสถานที่
อื่
น ๆ แต่
จะ
เข้
าพั
กอยู่
ประจำในวั
ดแห่
งเดี
ยวตามพุ
ทธบั
ญญั
ติ
๒. การที่
พระภิ
กษุ
อยู่
ประจำที่
นาน ๆ ย่
อมมี
โอกาสได้
สงเคราะห์
กุ
ลบุ
ตรที่
ประสงค์
จะอุ
ปสมบท เพื่
อศึ
กษาพระธรรมวิ
นั
และสงเคราะห์
พุ
ทธบริ
ษั
ททั่
วไป
๓. เป็
นเทศกาลที่
พุ
ทธศาสนิ
กชนงดเว้
นอบายมุ
ขและ
ความชั่
วต่
าง ๆ เช่
น การดื่
มสุ
รา สิ่
งเสพติ
ด และการเที่
ยวเตร่
เฮฮา เป็
นต้
๔. นอกจากเป็
นเทศกาลที่
พุ
ทธศาสนิ
กชนงดเว้
อบายมุ
ขและความชั่
วต่
าง ๆ แล้
วในช่
วงเวลาพรรษาพุ
ทธศาสนิ
กชน
ทั่
วไปจะบำเพ็
ญทาน รั
กษาศี
ล ฟั
งธรรมและเจริ
ญภาวนามากขึ้
สำหรั
บประวั
ติ
ความป็
นมาของวั
นเข้
าพรรษา คื
อเมื่
ครั้
งที่
พระสั
มมาสั
มพุ
ทธเจ้
าทรงประทั
บอยู่
ณ วั
ดเวฬุ
วั
นเมื
อง
ราชคฤห์
แคว้
นมคธ มี
เหตุ
การณ์
เกิ
ดขึ้
น คื
อ พวกชาวบ้
านกลุ่
หนึ่
งพากั
นกล่
าวตำหนิ
พระสงฆ์
ในพระพุ
ทธศาสนาว่
า ช่
างไม่
รู้
จั
กาลเวลาเสี
ยเลยพากั
นจาริ
กไปเรื่
อย ๆ ไม่
หยุ
ดยั้
งแม้
ในระหว่
าง
ฤดู
ฝน บางครั้
งก็
ไปเหยี
ยบข้
าวกล้
าของชาวนาเสี
ยหายขณะที่
พวก
นิ
ครณถ์
นั
กบวชในศาสนาอื่
นและฝู
งนกยั
งหยุ
ดพั
กผ่
อน ไม่
ท่
องเที่
ยว
ไปในฤดู
ฝนเช่
นนี้
เรื่
องนี้
ทราบถึ
งพระพุ
ทธเจ้
า ในการต่
อมา
พระองค์
จึ
งทรงรั
บสั่
งให้
พระสงฆ์
ประชุ
มพร้
อมกั
บตรั
สถามจนได้
ความเป็
นจริ
งแล้
วจึ
งทรงบั
ญญั
ติ
เรื่
องการเข้
าพรรษาไว้
ว่
“อนุ
ชา
นามิ
ภิ
กขะเว วั
สสั
ง อุ
ปะคั
นตุ
ง”
แปลว่
“ภิ
กษุ
ทั้
งหลาย
เราอนุ
ญาตให้
พวกเธออยู่
จำพรรษา”
การบำเพ็
ญกุ
ศล เนื่
องในเทศกาลเข้
าพรรษานี้
ยั
งมี
ประเพณี
สำคั
ญอยู่
๒ ประเพณี
ด้
วยกั
น คื
๑. ประเพณี
แห่
เที
ยนพรรษา
๒. ประเพณี
ถวายผ้
าอาบน้
ำฝน
ระหว่
างเทศกาลเข้
าพรรษานั้
น พุ
ทธศาสนิ
กชนนิ
ยม
ไปวั
ด ถวายทาน รั
กษาศี
ล ฟั
งธรรม และเจริ
ญจิ
ตภาวนา
ซึ่
งเป็
นการเว้
นจากการกระทำความชั่
ว บำเพ็
ญความดี
และชำระ
จิ
ตใจให้
สะอาดแจ่
มใส หลั
กธรรมสำคั
ญที่
สนั
บสนุ
นคุ
ณความดี
ดั
งกล่
าวก็
คื
“วิ
รั
ต”
คำว่
า วิ
รั
ต หมายถึ
ง การงดเว้
นจากบาป
ความชั่
ว และอบายมุ
ขต่
าง ๆ จั
ดเป็
นมงคลธรรมข้
อหนึ่
งเป็
นเหตุ
นำบุ
คคลผู้
ปฏิ
บั
ติ
ตามไปสู่
ความสงบสุ
ข ปลอดภั
ย และความเจริ
รุ่
งเรื
องยิ่
งขึ้
นไป แบ่
งออกเป็
น ๓ ประการ คื
อ ๑. สั
มปั
ตตวิ
รั
๒. สมาทานวิ
รั
ต ๓. สมุ
จเฉทวิ
รั
ต ทั้
ง ๓ ข้
อนี้
ล้
วนแต่
เป็
นการละเว้
จากการทำความชั่
วและอบายมุ
ขต่
าง ๆ ด้
วยเกิ
ดความรู้
สึ
กละอาย
และเกรงกลั
วต่
อบาป
เนื่
องในวั
นอาสาฬหบู
ชาและวั
นเข้
าพรรษา ซึ่
งในปี
นี้
ตรงกั
บวั
นที่
๗-๘ กรกฎาคม ๒๕๕๒ สำนั
กงานคณะกรรมการ
วั
ฒนธรรมแห่
งชาติ
กระทรวงวั
ฒนธรรม จึ
งขอเชิ
ญชวน
พุ
ทธศาสนิ
กชนทุ
กท่
านร่
วมกั
นทำบุ
ญตั
กบาตร แห่
เที
ยนพรรษา
และถวายผ้
าอาบน้
ำฝน เพื่
อเป็
นสิ
ริ
มงคลในการดำรงชี
วิ
ตและ
เพื่
อเป็
นการสื
บสานดำรงไว้
ซึ่
งพระพุ
ทธศาสนาให้
ดำรงอยู่
คู่
คนไทย
ตลอดไป
แหล่
งข้
อมู
ล จากหนั
งสื
อ วั
นและประเพณี
สำคั
ญ เรี
ยบเรี
ยงโดย ศิ
ริ
วรรณ คุ้
มโห้