วารสารวั
ฒนธรรมไทย
14
วั
ฒนธรรมภาษา
ภ
าษาเป็
นเครื่
องมื
อในการสื่
อสาร ภาษา
จึ
งเกิ
ดใหม่
อยู่
ตลอดเวลาตามวิ
ถี
ชี
วิ
ตของผู้
ใช้
ภาษาที่
เปลี่
ยนแปลงไป ภาษาคำใหม่
มี
ทั้
ง
ภาษาไทยที่
สร้
างขึ้
นใหม่
และภาษาที่
ทั
บศั
พท์
หรื
อบั
ญญั
ติ
ศั
พท์
จากภาษาต่
างประเทศ ราชบั
ณฑิ
ตยสถาน
ได้
จั
ดทำพจนานุ
กรมศั
พท์
บั
ญญั
ติ
ในสาขาวิ
ชาต่
าง ๆ จำนวนมาก
เพื่
อให้
ทั
นความต้
องการ ใช้
ภาษาในแวดวงอาชี
พและแวดวง
วิ
ชาการ รวมทั้
งมี
การจั
ดทำพจนานุ
กรมคำใหม่
เพื่
อบั
นทึ
ก
ภาษาที่
เกิ
ดใหม่
ให้
ทั
นสมั
ย ทั
นเวลาอี
กด้
วย
เนื่
องจากเกิ
ดภาษาคำใหม่
ตลอดเวลา จึ
งมี
คำ
อี
กจำนวนมากที่
ยั
งไม่
ได้
บั
นทึ
กในพจนานุ
กรม แต่
จะอ่
านพบ
ในหนั
งสื
อพิ
มพ์
หรื
อได้
ยิ
นได้
ฟั
งจากวิ
ทยุ
และโทรทั
ศน์
คนที่
ได้
อ่
านได้
ฟั
งบ่
อย ๆ ก็
เข้
าใจความหมาย แต่
คนที่
เพิ่
งเห็
น
เพิ่
งฟั
งเป็
นครั้
งแรก อาจจะงงเพราะคำบางคำเป็
นคำที่
เคยใช้
ในความหมายหนึ่
ง แต่
นำมาใช้
ใหม่
ในอี
กความหมายหนึ่
ง
ลองดู
ตั
วอย่
าง
ขั
บเคลื่
อน
คำนี้
ใช้
กั
นมานานพอสมควรในหมู่
นั
กข่
าวและนั
กวิ
ชาการ ปกติ
คำว่
า ขั
บเคลื่
อน ใช้
กั
บเครื่
องยนต์
กลไกโดยเฉพาะรถยนต์
ในความหมายว่
าเคลื่
อนที่
เช่
น
“รถยนต์
คั
นนี้
ขั
บเคลื่
อน
สี่
ล้
อ”
“รถถั
ง
ขั
บเคลื่
อน
ไปบนหนทางขรุ
ขระ”
ส่
วนคำว่
า
ขั
บเคลื่
อน
ที่
เป็
นภาษาคำใหม่
เป็
นการ
นำคำที่
ใช้
กั
บเครื่
องยนต์
กลไกมาใช้
กั
บคนหรื
อองค์
กร แต่
มี
ความหมายเหมื
อนเดิ
มคื
อ มี
การเคลื่
อนไหว มี
การเคลื่
อนที่
ผลั
กดั
นไปข้
างหน้
า ดั
งตั
วอย่
างที่
พบในหนั
งสื
อพิ
มพ์
บางฉบั
บ
เช่
น
“ความขั
ดแย้
งทางความคิ
ดอย่
างรุ
นแรงของคน
สองฝ่
าย ทำให้
ไม่
อาจจะทำนายได้
ว่
าสั
งคมจะ
ขั
บเคลื่
อน
ไป
ในทิ
ศทางใด”
“กลุ่
ม “รั
กษ์
เมื
องไทย” มี
ม.ร.ว.ปรี
ดิ
ยาธร เทวกุ
ล
อดี
ตผู้
ว่
าการธนาคารแห่
งประเทศไทย เป็
นหั
วหอก
ขั
บเคลื่
อน
ด้
วย
ศาสตราจารย์
ดร.รื่
นฤทั
ย สั
จจพั
นธุ์
...เรื่
อง
ภาษาคำใหม
หวั
งจะให้
เป็
น “คลั
งสมอง” ทั้
งในมิ
ติ
ทางเศรษฐกิ
จและ
การเมื
องในยุ
คที่
ประเทศไทยกำลั
งเผชิ
ญกั
บวิ
กฤติ
ขนาดใหญ่
ที่
สั่
นสะเทื
อนกั
นไปทั้
งโลก”
ข้
ามเพศ
เป็
นคำที่
เผยแพร่
เมื่
อคุ
ณนก ยลลดา
นางงามซึ่
งชื่
อจริ
งคื
อ นายยลลดา เกริ
กก้
องสวนยศ นำมาใช้
ในการให้
สั
มภาษณ์
สื่
อมวลชน คุ
ณยลลดาเป็
นผู้
ชายที่
ผ่
าตั
ด
แปลงเพศเป็
นผู้
หญิ
ง ซึ่
งเราเคยมี
คำเรี
ยกว่
า สาวแปลงเพศ
หรื
อเรี
ยกรวม ๆ กั
นไปทั้
งผู้
แปลงเพศหรื
อไม่
แปลงเพศว่
า
สาวประเภทสองหรื
อกะเทย คำว่
า
คนข้
ามเพศ
มาจาก
ภาษาอั
งกฤษว่
า transgendered people ซึ่
งอาจจะข้
ามจาก
เพศชายมาเป็
นหญิ
งหรื
อหญิ
งไปเป็
นชาย แต่
ที่
พบมากคื
อ
จากชายกลายเป็
นหญิ
ง ซึ่
งในประเทศไทยยั
งไม่
มี
กฎหมาย
รั
บรองสิ
ทธิ
และสถานภาพของคนกลุ่
มนี้
คำว่
าคนข้
ามเพศ
เป็
นคำใหม่
ที่
สร้
างขึ้
นเพื่
อชี้
ชั
ดสภาวะของคนกลุ่
มนี้
ว่
าได้
ผ่
าตั
ดแปลงเพศแล้
ว และประสงค์
จะใช้
สิ
ทธิ
ความเป็
นผู้
หญิ
ง
ให้
ถู
กต้
องทั้
งทางกฎหมายและทางสั
งคม