วารสารวั
ฒนธรรมไทย
17
ศิ
ลปะบ้
านเราจะต้
องมี
ศิ
ลปิ
นที่
ทั้
งเก่
งและ
ที่
มี
พรสวรรค์
อยู่
แล้
วให้
สามารถสร้
างสรรค์
ผลงานที่
มี
คุ
ณค่
าออกมาได้
อย่
างมากมาย”
ศ.เดชา วราชุ
น ศิ
ลปิ
นแห่
งชาติ
สาขาทั
ศนศิ
ลป์
(ภาพพิ
มพ์
และสื่
อผสม)
พุ
ทธศั
กราช ๒๕๕๐
“การจั
ดงานครั้
งนี้
มี
ประโยชน์
มาก แต่
ยั
งมี
ปั
ญหาอยู่
ที่
ว่
า
วงการศิ
ลปะบ้
านเรา ครู
ที่
จบทางด้
านศิ
ลปะ
มี
ค่
อนข้
างน้
อย ส่
วนใหญ่
จะเป็
นครู
ทางด้
าน
นาฏศิ
ลป์
และดนตรี
ทำให้
งานศิ
ลปะที่
เด็
กเรี
ยนมา
มี
แนวทางเหมื
อนกั
นหมด แล้
วที่
ผ่
านมาเด็
กก็
เข้
ามาหาเรายาก ดั
งนั้
น เมื่
อมี
การจั
ดงานนี้
เราก็
เข้
าไปหาเด็
กแทน แต่
ปั
ญหาคื
อ เวลามี
ค่
อนข้
างจำกั
ด และเด็
กไม่
ได้
ถู
กกล่
อมเกลา
มาก่
อน แต่
ดี
ที่
งานนี้
เด็
กจะได้
ประสบการณ์
ที่
ทำให้
เค้
ามี
ความคิ
ดริ
เริ่
มสร้
างสรรค์
ดั
งนั้
น
คนที่
จะเป็
นศิ
ลปิ
นได้
นั้
น จะต้
องมี
แนวทาง
ของตั
วเองที่
ชั
ดเจนไม่
เหมื
อนใครและที่
สำคั
ญ
มี
ศิ
ลปิ
นแห่
งชาติ
และศิ
ลปิ
นจากต่
างประเทศ
มา Work Shop ครู
สอนศิ
ลปะต้
องมาฟั
งด้
วย
เพื่
อจะได้
รู้
ว่
าการสอนศิ
ลปะควรสอนอย่
างไร
เพราะงานศิ
ลปะมี
ทั้
งความจริ
งและนามธรรม
ถ้
างานศิ
ลปะมี
รู
ปทรงอย่
างเดี
ยว ก็
คื
อช่
างต้
อง
มี
ความคิ
ดใส่
เข้
าไปด้
วย จึ
งจะเป็
นงานศิ
ลปะ”
ดร.กมล ทั
ศนาญชลี
ศิ
ลปิ
น
แห่
งชาติ
สาขาทั
ศนศิ
ลป์
(จิ
ตรกรรมและ
สื่
อผสม) พุ
ทธศั
กราช ๒๕๔๐
บอกว่
า
“คนที่
จะสร้
างสรรค์
งานศิ
ลปะได้
ดี
นั้
น ต้
องมี
พื้
นฐานที่
ดี
ก่
อน และต้
องมี
เอกลั
กษณ์
เป็
น
ของตั
วเอง เช่
น ปิ
กั
สโซ ตอนเด็
กจะวาดรู
ป
แบบผู้
ใหญ่
แต่
พอโตแล้
วก็
จะวาดรู
ปแบบเด็
ก ๆ
คื
อ ต้
องทำให้
ถู
กให้
เป็
นถู
กก่
อน แล้
วค่
อย
ทำถู
กให้
เป็
นผิ
ด สุ
ดท้
ายผิ
ดก็
จะกลายเป็
นถู
กเอง
เพราะงานศิ
ลปะต้
องใช้
จิ
ตใจและความรู้
สึ
กใส่
เข้
าไป”
สำหรั
บศิ
ลปิ
นจากประเทศแถบลุ่
ม
น้
ำโขงนั้
น
นายเมย์
จั
นดาวงศ์
ศิ
ลปิ
นจาก
ประเทศลาว ให้
ความเห็
นว่
า
“ยิ
นดี
มากที่
มี
การจั
ดงานฯ นี้
ขึ้
น เพราะเป็
นครั้
งแรกที่
ได้
มา
ร่
วมงานกั
บศิ
ลปิ
นแห่
งชาติ
ของไทย ถื
อเป็
น
การแลกเปลี่
ยนเรี
ยนรู้
ด้
านศิ
ลปะระหว่
างกั
น
นอกจากนี้
ยั
งส่
งเสริ
มให้
เด็
ก ๆ รุ่
นลู
กรุ่
นหลาน
ที่
เป็
นอนาคตของชาติ
ให้
รู้
จั
กรั
กงานศิ
ลปะด้
วย
ส ำ ห รั
บ ว ง ก า ร ศิ
ลป ะ ข อ ง ป ร ะ เ ทศล า ว
ในปั
จจุ
บั
นนี้
ถื
อว่
ามี
การพั
ฒนาไปมากกว่
า
แต่
ก่
อน เห็
นได้
จากที่
เวี
ยงจั
นทร์
จะมี
Gallary
เพิ่
มขึ้
นจากแต่
ก่
อน แล้
วคนลาวที่
ไปพำนั
ก
อยู่
ในต่
างประเทศ เมื่
อกลั
บมาประเทศลาว
ก็
จะขนซื้
องานศิ
ลปะของศิ
ลปิ
นลาวกลั
บ
ไปเยอะมาก ทำให้
งานศิ
ลปะของลาวได้
ไป
เผยแพร่
ในต่
างประเทศ แสดงให้
เห็
นว่
า
คนลาวให้
ความสำคั
ญกั
บงานศิ
ลปะมากขึ้
น”
นายเหวี่
ยน เหวี
ยน ฮวาง ศิ
ลปิ
น
จั
ดวางชาวเวี
ยดนาม
ที่
สร้
างสรรค์
งานศิ
ลปะ
จากการนำเอาวั
สดุ
อุ
ปกรณ์
มาจั
ดวางตาม
พื้
นที่
ต่
าง ๆ กล่
าวว่
า
“ยิ
นดี
มากที่
สวช. ให้
โอกาสมาร่
วมงานนิ
ทรรศการฯ ทำให้
รู้
จั
ก
ศิ
ลปิ
นหลายประเทศในสาขาต่
าง ๆ ได้
เรี
ยนรู้
แลกเปลี่
ยนวั
ฒนธรรมร่
วมกั
น ปั
จจุ
บั
นวงการ
ศิ
ลปะของเวี
ยดนามมี
การพั
ฒนาขึ้
น เนื่
องจาก
ศิ
ลปิ
นมี
โอกาสนำผลงานของตนไปแสดง
ในต่
างประเทศ ศิ
ลปิ
นก็
จะนำความรู้
และ
ปร ะ สบก า รณ์
ที่
ไ ด้
พบ เ ห็
น ใ นต่
า ง แดน
มาปรั
บปรุ
งและพั
ฒนาวงการศิ
ลปะของ
เวี
ยดนามต่
อไป สำหรั
บตั
วผมเองก็
เช่
นกั
น
จะนำความรู้
และประสบการณ์
จากงาน
นิ
ทรรศการฯ มาเป็
นแนวทางในการพั
ฒนา
งานศิ
ลปะของเวี
ยดนามต่
อไป”
นายเพชรอิ
นทร์
แววศรี
นั
กศึ
กษา
ชั้
นปี
ที่
๔ มหาวิ
ทยาลั
ยขอนแก่
น วิ
ทยาเขต
หนองคาย
ที่
เข้
าร่
วมงานนิ
ทรรศการฯ
ได้
แสดงความคิ
ด เห็
นถึ
งการจั
ดงานว่
า
“ดี
ใจมากที่
ได้
มี
โอกาสเรี
ยนรู้
งานศิ
ลปะจาก
ศิ
ลปิ
นแห่
งชาติ
อย่
างใกล้
ชิ
ด และได้
เห็
นงานศิ
ลปะ
ของประเทศเพื่
อนบ้
านว่
าเค้
ามี
การพั
ฒนา
ไปแค่
ไหน และมี
แนวคิ
ดในการสร้
างสรรค์
ผลงานอย่
างไร สำหรั
บตั
วผมแล้
ว มี
ความ
สนใจและชื่
นชอบในงานศิ
ลปะอยู่
แล้
ว เพราะ
ง านศิ
ลปะทำ ให้
ผมมี
สมาธิ
และจิ
ตใ จที่
เยื
อกเย็
นขึ้
น ในอนาคตผมตั้
งใจไว้
ว่
าจะจั
ดตั้
ง
ชมรมศิ
ลปะขึ้
น เพื่
อเป็
นพื้
นที่
สำหรั
บน้
อง ๆ
ที่
สนใจงานด้
านศิ
ลปะได้
มาแลกเปลี่
ยน
ถ่
ายทอดความรู้
และประสบการณ์
ร่
วมกั
น
จะได้
มี
แนวทางในการสร้
างสรรค์
งานศิ
ลปะ
ต่
อไป”
สำนั
กงานคณะกรรมการวั
ฒนธรรม
แห่
งชาติ
มุ่
งหวั
งว่
าการจั
ดโครงการนิ
ทรรศการ
วั
ฒนธรรมแห่
งสายน้
ำ สานสั
มพั
นธ์
ลุ่
มน้
ำโขง
จะเป็
นพื้
นที่
ให้
แก่
เด็
ก เยาวชน นั
กเรี
ยน
นั
กศึ
กษา ได้
แลกเปลี่
ยนความรู้
ด้
านศิ
ลปะกั
บ
ศิ
ลปิ
นทั้
งไทยและต่
างประเทศ เพื่
อสามารถ
สร้
างสรรค์
งานศิ
ลป์
ที่
ตนเองถนั
ดได้
นอกจาก
กา รแลก เ ปลี่
ยน เ รี
ยนรู้
เ รื่
องศิ
ลปะแล้
ว
โครงการฯ ดั
งกล่
าว ยั
งเป็
นจุ
ดเชื่
อมโยงให้
เด็
ก เยาวชน และผู้
คนในพื้
นที่
ที่
มี
ชายแดน
ติ
ดกั
น โดยมี
แม่
น้
ำโขงเป็
นตั
วเชื่
อม ได้
กระชั
บ
ความสั
มพั
นธ์
ที่
แนบแน่
น พร้
อมทั้
งสร้
าง
ความเข้
าใจกั
บความหลากหลายของวิ
ถี
ชี
วิ
ต
สั
งคมวั
ฒนธรรม เพื่
อการสื
บทอดและรั
กษา
วั
ฒนธรรมอั
นดี
อั
นเป็
นมรดกร่
วมของภู
มิ
ภาค
ลุ่
มน้
ำโขงให้
คงอยู่
อย่
างยั่
งยื
นต่
อไป