วารสารวั
ฒนธรรมไทย
10
พอคุ
ณยายอธิ
บายจบ เจ้
าหลานชายตั
วโต
ก็
ชั
กอยากรู้
แล้
วซิ
ว่
า แล้
วเพลงกล่
อมเด็
กของภาคอื่
น ๆ
ร้
องกั
นอย่
างไร คุ
ณตาจึ
งช่
วยคุ
ณยายอธิ
บายให้
ฟั
งว่
า
ในประเทศไทยเรานั้
นมี
เพลงกล่
อมเด็
กอยู่
ทั่
วทุ
กภาค
โดยเนื้
อร้
องและทำนองจะต่
างกั
นไป มี
ชื่
อเรี
ยกหลายอย่
าง
เช่
น
ภาคเหนื
อเรี
ยก “เพลงนอนสาหล่
า” “นอนสาเดอ”
ภาคกลางเรี
ยก “เพลงกล่
อมเด็
ก” “เพลงกล่
อมลู
ก”
ส่
วนภาคใต้
ก็
เหมื
อนอย่
างที่
คุ
ณยายเล่
าให้
ฟั
ง เรี
ยกว่
า
“เพลงชาน้
อง”
โดยเพลงกล่
อมเด็
กเป็
นคติ
ชาวบ้
าน
ประเภทใช้
ภาษาเป็
นสื่
อที่
อาศั
ยการถ่
ายทอดจากปาก
ต่
อปากมาแต่
โบราณ เรี
ยกว่
าเป็
น “มุ
ขปาฐะ” เพลง
กล่
อมเด็
กจึ
งเป็
นวั
ฒนธรรมพื้
นบ้
านที่
มี
บทบาทและ
หน้
าที่
แสดงให้
เห็
นถึ
งเอกลั
กษณ์
ของแต่
ละชุ
มชน
โดย
เพลงกล่
อมเด็
กของทางภาคเหนื
อ
มี
เพลง
กล่
อมลู
กสื
บทอดเป็
นลั
กษณะแบบแผนเฉพาะของตนเอง
มาช้
านาน ซึ่
งฉั
นทลั
กษณ์
ของเพลงกล่
อมเด็
กภาคเหนื
อ
เรี
ยกว่
า “คำร่
ำ” ซึ่
งจั
ดเป็
นลำนำชนิ
ดหนึ่
ง หมายถึ
ง
การร่
ำพรรณนา มี
เสี
ยงไพเราะ สู
งต่
ำตามสี
ยงวรรณยุ
กต์
ของสำเนี
ยงภาคเหนื
อ นิ
ยมใช้
แต่
งในการร่
ำบอกไฟขึ้
น
ร่
ำสร้
างวิ
หาร ร่
ำสร้
างเจดี
ย์
ร่
ำสร้
างถนนขึ้
นดอยสุ
เทพ
และแต่
งเป็
นคำกล่
อมเด็
ก
คำกล่
อมเด็
กนี้
พ่
อแม่
ปู่
ย่
า ตายาย ในภาคเหนื
อ
สมั
ยก่
อนมั
กจะใช้
ขั
บกล่
อมสอนลู
กหลานขณะอุ้
มเด็
กนั่
ง
ชิ
งช้
าแกว่
งไกวช้
า ๆ จนเด็
กง่
วงนอน จึ
งอุ้
มไปวางบนที่
นอน
หรื
อในเปลแล้
วเห่
กล่
อมต่
อจนเด็
กหลั
บสนิ
ท คำกล่
อมเด็
กนี้
จึ
งเรี
ยกว่
า “สิ
กจุ้
งจาโหน” ตามเสี
ยงที่
ใช้
ขึ้
นต้
นเพลง
ลั
กษณะเด่
นของ เพลงกล่
อมเด็
กภาคเหนื
อ
นอกจากจะขึ้
นต้
นด้
วยคำว่
าสิ
กจุ้
งจาโหนแล้
วยั
งมั
กจะขึ้
นต้
น
ด้
วยคำว่
า “อื่
อจา” เป็
นส่
วนใหญ่
จึ
งเรี
ยกเพลงกล่
อมเด็
ก
นี้
ว่
า เพลงอื่
อลู
ก ทำนองและลี
ลาอื่
อลู
กจะเป็
นไปช้
าๆ
ด้
วยน้
ำเสี
ยงทุ้
มเย็
น ตามถ้
อยคำที่
สรรมาเพื่
อสั่
งสอน
พรรณาถึ
งความรั
ก ความห่
วงใยลู
กน้
อย จนถึ
งคำปลอบ
คำขู่
ขณะยั
งไม่
ยอมหลั
บ ถ้
อยคำต่
าง ๆ ในเพลง
กล่
อมเด็
กภาคเหนื
อจึ
งสะท้
อนให้
เห็
นสภาพความเป็
นอยู่
สิ่
งแวดล้
อม และวั
ฒนธรรมต่
าง ๆ ของคนในภาคเหนื
อ
ตั้
งแต่
อดี
ตจนถึ
งปั
จจุ
บั
นได้
เป็
นอย่
างดี
นั
บเป็
นประโยชน์
ทางอ้
อมที่
ได้
รั
บนอกเหนื
อจากความอบอุ่
นใจของลู
ก
ที่
เป็
นประโยชน์
โดยตรงของเพลงกล่
อมเด็
ก
ส่
วน
เพลงกล่
อมเด็
กภาคอี
สาน
มี
ลั
กษณะเด่
นชั
ดกั
บ
การขั
บร้
องอั
นเป็
นธรรมชาติ
บ่
งบอกความจริ
งใจ
ความสนุ
กสนาน และความสอดคล้
องกลมกลื
นกั
บ
เครื่
องดนตรี
ประจำท้
องถิ่
น คื
อ แคน แม้
การขั
บกล่
อมลู
ก
ซึ่
งไม่
ใช้
เครื่
องดนตรี
ใด ๆ ประกอบ ก็
สื่
อให้
ผู้
ฟั
งรู้
ทั
นที
ว่
า
เป็
นเพลงของภาคอี
สาน
ภาคตะวั
นออกเฉี
ยงเหนื
อหรื
อภาคอี
สานนั้
นเป็
น
ดิ
นแดนที่
กว้
างขวางและมี
ประชากรมากที่
สุ
ดในบรรดา
๔ ภาคของไทย เพลงกล่
อมลู
กจึ
งมี
หลายสำเนี
ยง ถ้
าเป็
น
อี
สานตอนเหนื
อจะมี
สำเนี
ยงคล้
ายลาว ถ้
าเป็
นอี
สานตอนใต้
จะมี
สำเนี
ยงคล้
ายเขมร แต่
เพลงกล่
อมลู
กที่
แพร่
หลาย
และยอมรั
บว่
าเป็
นเอกลั
กษณ์
ของอี
สานจะเป็
นสำเนี
ยง
อี
สานตอนเหนื
อและมั
กจะขึ้
นต้
นด้
วยคำว่
า “นอนสาหล่
า”
หรื
อ “นอกสาเดอ” หรื
อ “นอนสาแม่
เยอ” มี
ทำนองลี
ลา
เรี
ยบง่
ายช้
า ๆ และมี
กลุ่
มเสี
ยงซ้
ำ ๆ กั
นทั้
งเพลง
เช่
นเดี
ยวกั
บภาคเหนื
อ การใช้
ถ้
อยคำมี
เสี
ยงสั
มผั
สคล้
าย
กลอนสุ
ภาพทั่
วไป และเป็
นคำพื้
นบ้
านที่
มี
ความหมาย
ในเชิ
งสั่
งสอนลู
กหลานด้
วยความรั
ก ความผู
กพั
น
ซึ่
งมั
กจะประกอบด้
วยส่
วนที่
เป็
นการปลอบโยน
การขู่
และการขอ โดยมุ่
งให้
เด็
กหลั
บเร็
ว ๆ นอกจากนี้
ก็
จะเป็
นคำที่
แสดงสภาพสั
งคมด้
านต่
าง ๆ เช่
น ความเป็
นอยู่
บรรยากาศในหมู่
บ้
าน ค่
านิ
ยม ขนบธรรมเนี
ยมประเพณี
เป็
นต้
น คุ
ณค่
าของเพลงกล่
อมเด็
กอี
สาน จึ
งมี
พร้
อม
ทั้
งทางด้
านจิ
ตใจและด้
านการศึ
กษาของชาติ