Page 120 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๑ มกราคม - มีนาคม ๒๕๖๐
P. 120

คลองลัดโพธิ์

          ความลับของทางลัด





                คลองลัดโพธิ์เป็นคลองลัดแนว  ในคลองลัดโพธิ์ตามความเหมาะสม
          เหนือ-ใต้ของคุ้งน?้าแม่น?้าเจ้าพระยา บริเวณ หลังจากนั้นไม่นาน “โครงการประตูระบายน?้า
          หมู่ ๙ ต?าบลทรงคะนอง อ?าเภอพระประแดง  คลองลัดโพธิ์” อันเนื่องมาจากพระราชด?าริ
          จังหวัดสมุทรปราการ กล่าวกันว่าเป็นคลอง ก็เกิดขึ้น โดยยึดหลักการเบี่ยงน?้า ภายใต้
          ที่มีมาตั้งแต่โบราณ แต่ถูกปิดไว้เพื่อป้องกัน การดูแลของกรมชลประทานกรุงเทพ-
          ไม่ให้ข้าศึกเข้าถึงพระนครอย่างรวดเร็ว ต้อง มหานคร และคณะกรรมการพิเศษเพื่อ
          เลี้ยวอ้อมไปตามแม่น?้าเจ้าพระยารอบเกาะ ประสานงานโครงการอันเนื่องมาจาก
          บางกระเจ้าเสียก่อน แม้มีสภาพตื้นเขิน ทว่า พระราชด?าริ (กปร.)

          หากมีการปรับปรุงคลองลัดโพธิ์ ก็จะช่วยให้  การปรับปรุงคลองลัดโพธิ์บริเวณ
          แม่น?้าเจ้าพระยาไหลลัดลงทะเลเร็วขึ้น   คุ้งน?้าช่วงที่ไหลผ่านต?าบลบางกระเจ้าด?าเนิน
               พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา- ไปตามพระราชด?าริ จากเดิมที่มีสภาพตื้นเขิน
          ภูมิพลอดุลยเดชทรงตระหนักถึงความจริง ก็สามารถรองรับปริมาณน?้าได้มากขึ้น อีกทั้ง
          ในเรื่องนี้ ทรงมีพระราชด?ารัสถึงคลอง  ยังเป็นทางลัดของน?้าให้ไหลลงสู่ทะเลได้
          ลัดโพธิ์เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ว่าเป็นสถานที่ สะดวกรวดเร็ว ทั้งนี้ช่วยลดระยะทางการไหล
          ตัวอย่างของการบริหารจัดการน?้าที่ต้องการ ของแม่น?้าเจ้าพระยาจาก ๑๘ กิโลเมตร
          ความรู้เรื่องเกี่ยวกับเวลาน?้าขึ้น-น?้าลง หาก  เหลือเพียง ๖๐๐ เมตร และลดเวลาการ
          บริหารจัดการให้ถูกต้องจะสามารถแก้  เดินทางของน?้าจาก ๕ ชั่วโมง เหลือเพียง
          ปัญหาน?้าท่วมได้ ต่อมาจึงทรงมีพระราชด?าริ ๑๐ นาทีเท่านั้น จึงสามารถลดผลกระทบ
          ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเร่งปรับปรุงขุดลอก  จากน?้าล้นตลิ่งในกรุงเทพฯ และปริมณฑล
          คลองลัดโพธิ์ พร้อมก่อสร้างอาคารประกอบ  ได้อย่างมีประสิทธิภาพ



          118
   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125