Page 35 - Culture3-2016
P. 35







๑ ชา่ งเททองเขา้ ใจเรอ่ื งเวลา ความรอ้ น และสดั สว่ นตา่ งๆ ในขณะท่ี 

เททองแตล่ ะเบา้ ลงในพมิ พพ์ ระ
๒ งานของชา่ งปน้ั หลอ่ ไมจ่ าํา กดั เพยี งแตพ่ ระพทุ ธรปู ขนาดเลก็ แตอ่ าจ 

หมายรวมถงึ พระพทุ ธรปู กลางแจง้ ขนาดใหญท่ ตี่ อ้ งใชก้ ารเททอง 
เปน็ สว่ นๆ กอ่ นขนึ้ ประกอบเปน็ พระพทุ ธรปู อยา่ งสมบรู ณ์








น้าทองที่หล่อหลอมเป็นเนื้อเหลวผ่าน 

กระบวนการแข็งตัวในแม่พิมพ์ จวบจนที่พิมพ์ 


ถูกทุบทาลายและฉายชัดถึงองค์พระพุทธรูปที่ 

งดงามอยู่ภายใน การงานของช่างหล่อ คนเททอง 

คนปั้น เดินทางมาถึงบั้นปลายแห่งวิจิตรศิลป์ท่ี 


“ชา่ งรบั รวั่ ” พวกเขาตรวจสอบการหลอ่ พระทตี่ อ้ ง 

ท้ิงให้เนื้อทองเยน็ราวสองสามวัน


ช่างรับรั่วจะตกแต่ง เคาะดิน ทาความ 

สะอาด ตลอดจนตอกทอยและอุดแผลต่างๆ ที่ 

หลงเหลือจากการหล่อเททอง ใช้ตะไบทั้งหยาบ 


และละเอียดถากถูลงบนผิวพระอย่างถ่ีถ้วน แม้ 

ทุกวันน้ีช่างพระสมัยใหม่จะใช้เคร่ืองขัดไฟฟ้า 

เพ่ือร่นเวลา ทว่าในเร่ืองของความละเอียดลออ 


ไม่เคยตกหล่นจางหาย

องคพ์ ระพทุ ธรปู เดนิ ทางจากหลายตอ่ หลาย 


มือช่างมาสู่ขั้นตอนการรมดาและลงรักเพื่อความ 

งดงามลงตัว ก่อนจะก้าวเข้าสู่พิธีพุทธาภิเษก 

๒
เพ่ือเป็นสิริมงคล ทว่าก่อนหน้านั้น องค์พระที่ถูก 


ปั้นและหล่อก็ราวจะหลอมรวมทั้งประวัติศาสตร์ 

ศลิ ปะ และสงิ่ ทเี่ รยี กวา่ แรงศรทั ธาของชา่ งปน้ั หลอ่ ในเชงิ ชา่ ง ทวา่ กเ็ กยี่ วพนั กนั โดยสายเลอื ดเครอื ญาตแิ ละความเปน็ ชา่ งปน้ั หลอ่ 

พระเอาไว้แล้วอย่างเหนยีวแน่น
พระพุทธรูปกันทั้งหมู่บ้านที่ต่อยอดมาเนิ่นนาน


งานวิจิตรศิลป์อันเป็นค่าควรเมืองไม่เพียง ในพระพุทธรูปอันงดงามหน่ึงองค์ที่ปรากฏตรงหน้าจึงอาจเป็น 

แสดงตัวตนอันสูงส่งไว้ในงานประติมากรรม ส่วนหนึ่งที่เล่าเร่ืองราวเก่ียวกับภาพร่างของพระพุทธศาสนาที่แผ่รากฝังลึก 


ยิ่งใหญ่ ทว่าบ่มเพาะและต่อยอดให้เกิดชุมชน ในชีวิตคนไทยมาแต่โบราณ เป็นงานศิลปะช้ันสูงอันล้าค่า เป็นอาชีพและ 

ช่างปั้นหล่อหลายแห่งอย่างชุมชนบ้านช่างหล่อ สิง่รักหวงแหนของกลุ่มช่างอันเลอเลิศ

ที่เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ที่ว่ากันว่า ยิ่งกว่านั้นคืออาจเป็นครรลองหน่ึงท่ีเหนี่ยวนา ให้ผู้คนก้าวเดินไป 


บรรพบุรุษของพวกเขาคือช่างปั้นหล่อจากกรุงศรี- อยา่ งสงบเยน็ ในนามของพทุ ธศาสนกิ ชนอนั ถงึ พรอ้ มและสมบรู ณด์ งี าม

อยุธยา เคล็ดลับ ความรู้ แรงศรัทธา ท้ังศาสตร์ 

และศิลป์ตกทอดเป็นชุมชนช่างทาพระตามแบบ 
ขอบคุณ โรงปั้น-หล่อพระบุญชู พุทธมณฑลสาย ๒ ซอย ๑๐

ขนบโบราณซ่ึงหลายครัวเรือนอาจแตกต่างกัน
ทีอ่านวยความสะดวกในการถ่ายทาการปั้นพระพทุธรูป


33
กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๙ 



   33   34   35   36   37