Page 56 - Culture2-2016
P. 56




















































๑







จากนั้นจึงนาข้าวตอกแตกคั่วใหม่ไปคัดแยกเปลือกข้าว 

โดยการฝดั (รอ่ น) ในกระดง้ เพอื่ คดั เอาเฉพาะเมลด็ ขา้ วตอกแตก 


หรือข้าวพองสีขาวล้วนๆ หากเก็บข้าวตอกแตกที่ได้นี้อย่างดี 

โดยไมใ่ หส้ มั ผสั ความชนื้ ในอากาศกส็ ามารถเกบ็ รกั ษาไวไ้ ดน้ าน 

ไม่เสียง่าย และถือกันว่าเป็นสิ่งมงคล บางครั้งใช้โปรยรวมกับ 


ดอกไม้และเงินทองเพื่อเป็นเคล็ดให้เกิดความรุ่งเรืองเฟื่องฟู 

ขยายออกได้เหมือนข้าวตอก


การเลอื กใชเ้ มลด็ ขา้ วเปลอื กมาทา เปน็ มาลยั แทนดอกไม้ 
๒
เนื่องจากแต่เดิมชาวชุมชนแถบนี้เชื่อว่าข้าวเป็นสิ่งมีคุณค่า 

การถวายเป็นพุทธบูชาจึงได้อานิสงส์และบุญกุศลมาก ดังพบ 
๑ ขบวนแหม่าลัยข้าวตอกในปัจจบุันกลายเปน็งานประเพณีใหญ่ 
ประจาําปีทแี่สดงใหเ้ห็นถึงการร่วมแรงรว่มใจจดัทาํามาลัยขนาดใหญแ่ละ 
ว่ามีการถวายข้าวจี่เป็นพุทธบูชาอยู่แล้ว ส่วนการบูชาด้วย 
สวยงามของชาวบา้ นตาํา บลฟา้ หยาด อําาเภอมหาชนะชัย จงั หวัดยโสธร 
ข้าวตอกนั้นสันนิษฐานว่าในสมัยเริ่มแรกอาจเป็นเพียงการนา 
และมกี ารจัดประกวดความสวยงามของมาลัย ท่ีดึงดดู ใหผ้ คู้ นตา่ งถ่ิน 
เดินทางมารว่มงานอยา่งคบัค่งั
ข้าวตอกแตกใส่พานไปบูชาพระแบบเรียบง่าย ก่อนจะพัฒนา

๒-๓ชาวบา้นนาํามาลยัขา้วตอกทัง้ขนาดใหญน่้อยมาจากบา้นเพ่อืเข้าร่วม 

ขบวนแหไ่ปถวายวดั

54




   54   55   56   57   58