Page 108 - Culture2-2016
P. 108
วฒั นธรรมวพิ ากษ์
อโนมา สอนบาลี สัมภาษณ์
สุทัศน์ รุ่งศิรศิ ิลป์ ภาพ
ดนตรไี ทย
การ‘ปรบั ปรน’ทางวฒั นธรรม
“ผมเปน็ อาจารยส์ อนทางดา้ นดนตรี เปน็ นกั ดนตรวี ทิ ยา ทา งานทางดา้ นวจิ ยั ดนตรี
แตโ่ ดยพนื้ ฐานผมเปน็ คนดนตรไี ทย”
รศ. ดร. ณรงคช์ ยั ปฎิ กรชั ต์ อาจารยป์ ระจา สาขาวชิ าดนตรวี ทิ ยา
วทิ ยาลยั ดรุ ยิ างคศลิ ป์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล กลา่ วยมิ้ ๆ เมอื่ เอย่ ถงึ ความเชยี่ วชาญพนื้ ฐาน ซงึ่ สอดคลอ้ งอยา่ งยงิ่
กับประเด็นทางวัฒนธรรมที่ต้องการวิพากษ์ในครั้งนี้ คือเรื่องของดนตรีไทยกับความเปลี่ยนแปลงในแต่ละ
ยคุ สมยั นอกจากจะอธบิ ายอยา่ งถอ่ งแทถ้ งึ ดนตรไี ทยในแตล่ ะยคุ สมยั แลว้ อาจารยย์ งั วพิ ากษถ์ งึ “ความไร้
กาลเวลา” ของดนตรไี ทยไดอ้ ยา่ งถงึ แกน่ ชวนตดิ ตามอยา่ งยงิ่
พฒั นาการของดนตรไี ทยในแตล่ ะชว่ งประวตั ศิ าสตรเ์ ปน็
อย่างไร โดยองิ ตามบริบทของสภาพสังคมทีเ่ ปล่ยี นไป
โดยภาพรวมตงั้ แตป่ ลายสมยั อยธุ ยา ในชว่ งแรกดนตรไี ทย
มีสองมิติ คือดนตรีที่เกี่ยวกับพิธีกรรม หรือพระราชพิธีใน
พระราชสานัก และอีกประเภทหนึ่งคือวงดนตรีไทยเพ่ือการฟัง
คอื วงมโหรี นยิ มกนั ในหมขู่ า้ ราชการชน้ั ผใู้ หญท่ มี่ กั จะมวี งดนตรี
ของตัวเอง ต่อมาภายหลังราชสานักจึงนามาใช้บ้าง ต่อมาใน
สมยัรตันโกสนิทร์พฒันาการของดนตรไีทยเห็นได้ชดัในรัชกาล
ท่ี ๒ พระองค์ท่านทรงเป็นศิลปินและทรงเล่นดนตรีด้วย เคร่ือง
ดนตรีช้ินเอกก็คือซอสามสายท่ีชื่อว่าสายฟ้าฟาด เม่ือในหลวง
ทรงโปรดดนตรจี งึ เกดิ วงดนตรขี นึ้ มากมาย โดยเฉพาะการละเลน่
อยู่อย่างหนึ่งที่เกิดข้ึนในยุคนั้นคือการขับเสภา เม่ือแรกนั้นเกิด
จากการเล่านทิานตอนหลงัจงึมกีลอนเข้ามาพระองค์ท่านทรง
106