Page 76 - Culture1-2016
P. 76







และรกั พวกพอ้ งของตนมกี ารทาํา กจิ กรรมตา่ งๆรว่ มกนั ในชมุ ชน 

ไม่มีเครื่องแต่งกายที่แสดงสัญลักษณ์เฉพาะว่าเป็นชาติพันธุ์ 


พวน มวี ฒั นธรรมการทอผา้ ทงั้ ผา้ มดั หมแี่ ละผา้ ตนี จก ตลอดจน 

นิทานพื้นบ้านและลําาพวนที่เป็นเอกลักษณ์ของชุมชน


ชาวพวนส่วนใหญ่นับถือพุทธศาสนา เป็นคนใจบุญ 

สนุ ทาน ทาํา บญุ เขา้ วดั ประจาํา และยงั รกั ษาขนบธรรมเนยี มและ 


ประเพณตี ่างๆ ไวอ้ ย่างเหนียวแน่นถึงปัจจบุ ัน อาทิ เดือนอ้าย 

มีประเพณีบุญข้าวจี่ เดือนยี่มีบุญข้าวหลาม เดือนสามเป็น 

บุญกําาฟ้า เดือนห้าบุญสงกรานต์ เดือนแปดบุญเข้าพรรษา 

๑
เดือนเก้าบุญห่อข้าวดําาดินหรือสารทพวน เดือนสิบบุญทาน 

ข้าวสาหรือบุญสลากภัต เดือนสิบเอ็ดบุญเอาะวะสา และ 
๑ ลายผ้าดั้งเดิมไทยพวน

๒ คุณยายทองแยง เสงี่ยมจิต บุญเดือนสิบสองได้แก่บุญข้าวเม่า

กับรูปบิดาผู้เคยเป็นผู้ใหญ่บา้น 

ป่าแดง อําาเภอตะพานหิน จังหวัด ภาษาพวนในประเทศไทย
พิจติ ร และท่านคือชาวไทยพวน 

ป่าแดงยุคแรกๆ
ภาษาพวน มีชื่อเรียกแบบอื่นว่า ภาษาไทพวน ภาษา 

ไทยพวน และภาษาลาวพวน เป็นภาษาในตระกูลไทซึ่งมี 


ผู้พูดกระจายอยู่ตามภูมิภาคต่างๆ ของประเทศไทย เช่น 

จังหวัดลพบุรี บริเวณอําาเภอเมืองและอําาเภอบ้านหมี่ จังหวัด 


สระบุรี บริเวณอําาเภอบ้านหมอและอาํา เภอวิหารแดง จังหวัด 

นครนายก บริเวณอําาเภอปากพลี จังหวัดปราจีนบุรี บริเวณ 


อําาเภอโคกปีบและอําาเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดฉะเชิงเทราที่ 

อําาเภอพนมสารคามและอําาเภอสนามชัย จังหวัดสุพรรณบุรี 


ทอี่าําเภอบางปลามา้จงัหวดัสงิหบ์รุใีนอาําเภอพรหมบรุีจงัหวดั 

อุทัยธานีที่อําาเภอบ้านไร่ จังหวัดสุโขทัย บริเวณอําาเภอ วงคําาศัพท์คล้ายกับภาษาไทยแต่มีบางคาําเป็นคําาศัพท์เฉพาะ 

ศรีสัชนาลัย จังหวัดพิจิตร บริเวณอําาเภอตะพานหิน จังหวัด ของชาวไทยพวนทแี่ ตกตา่ งจากภาษาไทยและคลา้ ยกบั ภาษา 


กําาแพงเพชรในอําาเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์ ถนิ่ อสี าน สว่ นภาษาเขยี นของชาวไทยพวนนนั้ แตเ่ ดมิ ใชอ้ กั ษร 

จงั หวดั แพรใ่ นเขตอาํา เภอเมอื ง จงั หวดั นา่ น บรเิ วณอาํา เภอเมอื ง ไทยน้อยและอักษรธรรมอีสาน แต่ปัจจุบันไม่มีผู้ศึกษาภาษา 


และอําาเภอท่าวังผา จังหวัดอุดรธานีแถบอําาเภอบ้านเชียง เขียนมากนัก จึงเป็นเพียงหลักฐานที่ปรากฏในสมุดข่อยและ 

อําาเภอหนองหาน และอําาเภอบ้านผือ จังหวัดหนองคายใน ใบลานเทา่ นนั้ ซงึ่ สว่ นใหญจ่ ะเปน็ บทสวดและตําารายาโบราณ 


อําาเภอโกสุมพิสัยและอําาเภอศรีเชียงใหม่ และจังหวัดเลย แม้ชาวบ้านที่ครอบครองตําารานี้ก็มีจําานวนน้อยที่สามารถ 

บริเวณอําาเภอเชียงคาน
อ่านตําารายาเหล่านี้ได้


ภาษาไทยพวนมีพยัญชนะ ๒๐ หน่วยเสียง ได้แก่ /ป, 
ลกั ษณะภาษาพวน
ต,ก,อ,พ/ผ,ท/ถ,ค/ข,บ,ด,จ,ฟ/ฝ,ซ/ส,ฮ/ห,ม,น, 

ภาษาพดู ของชาวไทยพวนคลา้ ยคลงึ กบั ภาษาไทยและ ญ, ง, ล, ว, ย/ ทงั้ ๒๐ หนว่ ยเสยี งปรากฏในตาํา แหนง่ พยญั ชนะ 


ภาษาถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรือภาษาถิ่นอีสานมาก
ต้นได้ทั้งหมด และหน่วยเสียงที่เป็นพยัญชนะท้ายมี ๙



74




   74   75   76   77   78