Page 75 - Culture1-2016
P. 75


ภาษาและหนงั สอื



ชลธชิาบารงุรกัษ์๑,มยรุีถาวรพฒัน์๒เรอื่ง 

สายณั ห์ ชนื่ อดุ มสวสั ด์ิ ภาพ



























๒
๓



๑ ตัวอักษรไทยพวน

๒ อาจารย์อนันต์ปุระปัญญา 
ลาวพวน ถกู กวาดตอ้ นเขา้ มาตง้ั ถน่ิ ฐานในประเทศไทยไดก้ ลาย ชาวไทยพวนบ้านป่าแดง อําาเภอ 

ตะพานหิน จังหวัดพิจิตร ผู้เก็บ 
เปน็ ราษฎรไทยโดยสมบรู ณ์ จงึ เรยี กตนเองวา่ “ไทยพวน”๓
รักษาเรื่องราวบรรพบุรุษและ 
การยา้ ยถนิ่ ฐานของชาวพวนเขา้ มาอยใู่ นประเทศไทย ภาษาไทยพวน

๓ ลายผ้าดั้งเดิมไทยพวน 
มีสาเหตุหลัก ๒ ประการ คือ จากการอพยพลี้ภัยสงคราม 
ลายนกกระจิบ และลาย 
เข้ามาในประเทศไทยด้วยความสมัครใจ และจากการถูก ตะวันลับฟ้า


กวาดต้อนเข้ามาในสมัยกรุงธนบุรีและรัตนโกสินทร์ตอนต้น 

จนกระทั่งถึงสมัยรัชกาลที่ ๓ โดยถูกส่งให้ไปอยู่ตามเมือง 


ตา่ งๆ ในเขตหวั เมอื งชั้นในที่มีราษฎรอาศัยอยไู่ ม่หนาแนน่ นัก 
๑
เช่น สระบุรี ลพบุรี เพชรบุรี ราชบุรี ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา 

นครนายก




ประวตั ศิ าสตรแ์ ละชอ่ื เรยี กกลมุ่
วถิ ชี วี ติ และเอกลกั ษณท์ างวฒั นธรรม


จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ชาวพวนดั้งเดิมมี กลุ่มชาติพันธุ์พวนมีวัฒนธรรมและขนบประเพณีอัน 

ถิ่นฐานอยู่แถบลุ่มแม่น้ําาพวน จึงเรียกตนเองว่า “พวน” โดย โดดเดน่ ของตนเอง มวี ถิ ชี วี ติ เรยี บงา่ ย สว่ นใหญป่ ระกอบอาชพี 


ทั่วไปมีอาชีพเกษตรกรรม ทว่าการตั้งบ้านเรือนอยู่บริเวณ ทําานา ทําาสวน และเลี้ยงสัตว์ ชาวไทยพวนเป็นผู้ที่มีอัธยาศัย 

ทรี่ าบสงู ทาํา ใหก้ ารทาํา มาหากนิ ไมอ่ ดุ มสมบรู ณ์ ตอ่ มาจงึ อพยพ ไมตรีเป็นมิตรกับคนทั่วไป โอบอ้อมอารี เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่


ย้ายถิ่นลงมายังบริเวณที่ราบลุ่มฝั่งซ้ายของแม่น้ําาโขง เมือง 

เชียงขวาง ใกล้เขตเวียงจันทน์ และบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ําางึม ๑ รองศาสตราจารย์ ประจาํา คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
๒ อาจารยป์ ระจาํา สถาบนั วจิ ยั ภาษาและวฒั นธรรมเอเชยี มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล 
ใกลเ้ ขตหลวงพระบาง เมอื่ พวนตกเปน็ เมอื งขนึ้ ของเวยี งจนั ทน์ 
๓ ในบทความนจี้ ะใชค้ าํา วา่ “ไทยพวน” เรยี กคนกลมุ่ นตี้ ามเจา้ ของภาษา

ชนกลุ่มนี้จึงได้รับการเรียกขานว่า “ลาวพวน” และเมื่อกลุ่ม
สว่ นภาษาจะใชค้ าํา วา่ “ภาษาพวน”



73
มกราคม-มนี าคม ๒๕๕๙ 



   73   74   75   76   77