Page 37 - Culture1-2016
P. 37
โอง่ เกบ็ นา้ํา ชนั้ ดใี นยคุ แรกสว่ นใหญม่ าจากเมอื งจนี ผา่ น กว่าโอ่งมังกรหนึ่งใบจะสมบูรณ์สวยงามและเดินทาง
การค้าขายทางน้ําา จนถึงยุคที่ข้าวยากหมากแพง สินค้าจาก ออกจากโรงโอ่งในราชบุรี ต้องผ่านขั้นตอนหลากหลายที่มีแต่
ต่างแดนไม่สามารถนําาเข้ามาได้ ส่งผลให้ช่างปั้นและผู้คน ผู้ที่จ่อมจมตัวเองอยู่กับเนื้อดินและเตาไฟเท่านั้นจะรู้จักและ
ในราชบุรีริเริ่มการปั้นและเขียนลายโอ่งมังกรขึ้นมาทดแทน เข้าใจมันอย่างถึงที่สุด
การนําาเข้าข้ามผ่านทะเลไกล
เริ่มจากการที่ดินเหนียวจากตําาบลหลุมดินถูกเปิด
เกิดการทดลอง ผสานผสม และเติบโตขึ้นในนามของ หนา้ ดนิ และถกู หมกั ไว้ ชา่ งปนั้ โอง่ ตา่ งเขา้ ใจถงึ ความเกยี่ วเนอื่ ง
“โอ่งมังกรราชบุรี” ดินจากตําาบลหลุมดินนั้นขึ้นชื่อเรื่อง ของดิน น้ําา และเวลา ผ่านการลองผิดลองถูกและตกทอด
ของความเหนียว ให้สีที่ดีเมื่อเผาไฟ รวมไปถึงคงทน ทว่า สั่งสมมาจากช่างปั้นรุ่นปู่รุ่นพ่อมาเนิ่นนาน บางอย่างที่เป็น
ในเรื่องของการเขียนลาย พวกเขาเลือกใช้ “หินฟันม้า” “เคลด็ ลบั ” ไดถ้ กู เกบ็ งาํา อยเู่ ฉพาะในโรงโอง่ หรอื ในครอบครวั
หรอื ดินที่มสี ว่ นผสมลกั ษณะพเิ ศษ ซึ่งต่อมาทางวทิ ยาศาสตร์ หลังเตรียมดินจนได้ที่ วิธีการขึ้นรูปเต็มไปด้วยขั้นตอน
ระบุว่ามีแร่ Silica เมื่อนําามาผสมกับสีฝุ่น เกิดเป็นเฉดสีต่างๆ ที่ต้องใช้ฝีมือและความละเอียดผ่านช่างปั้นถึง ๓ คนในการ
ตามต้องการ และเมื่อผสมลงในเนื้อดิน แร่ Feldspar ใน ขึ้นรูปโอ่ง ๑ ใบ คนหนึ่งตระเตรียมดินที่หมักได้ที่ ขณะที่
หินฟันม้าจะช่วยในเรื่องการหดตัวและบิดเบี้ยว หรือที่ อีกสองคนปั้นขึ้นรูปโอ่ง ๓ ส่วน คือ ปากโอ่ง ท้องโอ่ง และ
เรียกกันว่าความแกร่ง หลังเผาไฟสูง ช่างเขียนลายโอ่ง ส่วนขาหรือฐานโอ่ง
จึงเลือกใช้หินฟันม้าจากนครศรีธรรมราชทดแทนดินขาว ขั้นตอนการปั้นโอ่งมังกรยังพาเราไปพบกับ “คน
จากจีนที่ประสบปัญหาเรื่องต้นทุนและการนําาเข้า แต่ก็มีอีก ตีโอ่ง” ที่ในมือของเขาจะมี “หินดุ” หรือฮวยหลุบ และ
ไม่น้อยที่เลือกใช้ดินจากชลบุรี จันทบุรี
“ไม้ตี” ลักษณะเป็นไม้มีด้ามจับ หน้าไม้แบนคล้าย
ส่วนผสมของดินที่เขียนลาย หินดุและไม้ตี อุปกรณ์สําาคัญของคนตีโอ่ง
35
มกราคม-มนี าคม ๒๕๕๙