Page 38 - Culture1-2016
P. 38
ขั้นตอนการขึ้นรูปต้องใช้สมาธิและความชําานาญ ตกแต่งให้เรียบและสมดุล
ใบพาย พวกเขาคุ้นกับคําาเรียกเป็นภาษาจีนจากการเริ่มต้น ตา่ งๆ ตามความคดิ ความเชอื่ ของจนี คอื “หลง” มงั กรสวรรค์
ในยุคแรกเริ่มการตีโอ่งก็คือการแต่งโอ่งให้ได้ทั้งรูปทรงและ ทีอ่ยู่บนฟ้าเป็นมังกรเทพที่มีอําานาจสงูสุด“หล”ีมังกรไร้เขา
พื้นผิวที่เหมาะควร จากนั้นจึงส่งต่อถึงคนเขียนลายหรือ ทมี่ กั อาศยั ในมหาสมทุ ร เปน็ มงั กรพภิ พทคี่ อยกาํา หนดเสน้ ทาง
ติดลายต่อไป
ดูแลแม่น้ําาลําาธาร และ “เจียว” มังกรมีเกล็ด เป็นมังกร
ลวดลายทเี่ กดิ ขนึ้ มที งั้ ศลิ ปะดงั้ เดมิ จากจนี แผน่ ดนิ ใหญ่ เฝ้าทรัพย์ที่มักอยู่ตามลุ่มหนองหรือโถงถ้ําา
และจนิ ตนาการใหมจ่ ากชา่ งไทยเชอื้ สายจนี ทีเ่ ปดิ รบั ลวดลาย จากมังกรลายจีนแบบขนบเก่าท่ามกลางลายเมฆและ
ผสมผสานจนเกิดเป็นเอกลักษณ์ในความพลิ้วไหวของลาย ดวงอาทิตย์ หลังการล้มหายตายจากของช่างจีนรุ่นปู่รุ่นพ่อ
โอ่งมังกร
ช่างเขียนลายยุคต่อมามักสอดแทรกลายไทยลงไปประกอบ
เฉพาะในเรื่องของลายได้สะท้อนแนวคิดและความ สาําหรบัคนทรี่กัและผกูพนักบัโอง่มงักรราชบรุีเรยีกการเตมิตอ่
เคารพในเรื่องศาสนาและตําานานของโลกตะวันออกไว้ ของลวดลายเหล่านี้ว่าพัฒนาการ
เคียงข้างความงดงาม ทุกคนมักนึกถึง “มังกร” หากพูดถึง ความงดงามโดดเด่นของโอ่งใบหนึ่งใช่เพียงติดยึด
โอ่งราชบุรี ทั้งลายมังกรคาบแก้ว ลายมังกรสองตัวเกี่ยว อยู่แต่เรื่องรูปทรงและลวดลาย แต่ช่างโอ่งราชบุรียังให้
กระหวัดพันกัน หรือลายมังกรวิ่งไล่กันที่นิยมทําากันแต่ดั้งเดิม ความสําาคัญในเรื่องของ “นํา้าเคลือบ” ที่มีสูตรหลากหลาย
ทั้งหมดล้วนโดดเด่นเมื่อช่างเขียนลายนําามาประกอบเสริม ตกทอดอยู่ในความทรงจําาของเฒ่าชรารวมไปถึงลูกหลาน
กับลายตกแต่งอย่างลายเครือเถา ลายเครือวัลย์ หรือ เฉพาะสตูรเฉพาะทางกันแล้วแต่โรงโอ่งสําานักไหนในปัจจุบัน
ตัวกระหนกตามศิลปะไทย
น้ําาเคลือบได้ถูกพัฒนาด้วยการสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์
เวลาที่ช่างปั้นแต่ละคนมองลงไปในโอ่งใบรัก จึงมัก เกิดเป็นสีสันและพื้นผิวโอ่งมังกรที่หลากหลาย นับเป็น
ผูกพันกับมังกรเป็นเรื่องหลัก หากกล่าวถึง “เล้ง” หรือมังกร การแตกยอดเติบโตไปในความงดงามของโอ่งราชบุรีได้
ของช่างปั้น พวกเขายังแยกย่อยลายมังกรออกเป็นรูปแบบ
อย่างไม่รู้จบ
36