Page 30 - Culture1-2016
P. 30
เปดิ ฉาก
รอยยมิ้ เสยี งหวั เราะตลอดจนแววตาจดจอ่ ของบรรดา
ผชู้ มที่ “อนิ ” ไปกบั การแสดงบทตา่ งๆ ทงั้ สนกุ ซาบซงึ้ ขบขนั
เศร้าสร้อย จากฝีมือการแสดงของลิเกคณะศรราม น้ําาเพชร
เป็นสิ่งยืนยันได้ว่าเสน่ห์ของลิเกยังมิได้จางคลายลงแต่
อย่างใด และลิเกเด็กรุ่นใหม่คณะนี้นับเป็นหนึ่งในผู้สืบทอด
ศิลปะการแสดงลิเกที่ถือกําาเนิดมาราวร้อยกว่าปี
ย้อนกลับไปราวปลายสมัยรัชกาลที่ ๕ ซึ่งมีบันทึกถึง
การแสดงลเิ กในยคุ แรก มาจนปจั จบุ นั พฒั นาการของลเิ กแบง่
ได้ ๖ ยุค คือ ลิเกสวดแขก ลิเกออกภาษา ลิเกทรงเครื่อง ลิเก
ลูกบท ลิเกเพชร และลิเกลอยฟ้า ซึ่งในงานศึกษาวิจัยเรื่อง
“ลเิ กในประเทศไทย” ของ ผศ.ดร. อนกุ ลู โรจนสขุ สมบรู ณ์
รองคณบดีฝ่ายวิจัย บัณฑิตศึกษาและกิจการนิสิต คณะ
ศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ระบุว่า ลิเกได้รับการผสมผสาน
เป็นแม่แบบครั้งแรกคือมาจากละครรําา และมีรากฐานเดิม
มาจากราชสาํา นกั แตม่ พี ฒั นาการและการเปลยี่ นแปลงทงั้ เรอื่ ง
ของระยะเวลาและการถา่ ยทอดทา่ ราํา ทมี่ คี วามหลากหลายขนึ้
ในปัจจุบัน
จากการผสมผสานก่อเกิดเป็นการแสดงที่มีรูปแบบ
๑
เฉพาะตัว เข้าถึงผู้ชมได้ง่าย และเป็นต้นทางของรูปแบบการ
แสดงลเิกในปจัจบุนัในสมยัของพระยาเพชรปาณี(ตร)ีผกู้อ่ตงั้
๑ชาวคณะลิเกจะไหวค้รูก่อนทําาการแสดงทุกครั้ง
๒ ในระหว่างรอเวลาก่อนออกโรงแสดง เด็กๆ ซกั ซ้อมบทรว่ มกัน
วิกลิเกแห่งแรกของไทย และเป็นผู้คิดเครื่องแต่งกายลิเกให้
๓ บรรยากาศหลังเวที บางคร้งั แสดงในตรอกเล็กๆ ก็อาศยั หน้าบา้ นแคบๆ
หรูหราขึ้นกว่าเดิม โดยนําาเครื่องแต่งกายข้าราชการในสมัย
เป็นที่แต่งตวั
รชั กาลที่๕มาดดั แปลงสวมเครอื่ งยอดทเี่รยี กวา่ ปนั จเุหรด็ ยอด ๔แตง่องคท์รงเครอื่งครบพรอ้มมอบรอยย้มิพิมพใ์จแก่แม่ยก
สวมเสื้อเยียรบับ นุ่งผ้ายก สวมถุงเท้าขาว ประดับนพรัตน์
ราชวราภรณก์ าํา มะลอ ใสส่ งั วาล แพรสายสะพาย และโบวแ์ พร
ที่บ่า เป็นต้น จึงเรียกกันว่า “ลเิกทรงเครื่อง”
นอกจากนี้ท่านยังรู้ใจคนดูอีกด้วยว่า “คนที่ชอบดูยี่เก
การพลกิ เครอื่ งแตง่ กายมาเปน็ เชน่ นี้ พระยาเพชรปาณี ไม่เอาใจใส่ในการขับร้องฟ้อนรําา หรือเพลงปี่พาทย์ ชอบแต่
ทูลสมเด็จฯ กรมพระยาดําารงราชานุภาพครั้งที่เสด็จทอด ๓ อย่าง คือ ให้แต่งตัวสวย ให้เล่นขบขัน กับเล่นให้เร็วทันใจ
พระเนตรลเิ กทีว่ กิ พระยาเพชรปาณเี มือ่ ปี ๒๔๔๐ ดว้ ยเหตผุ ล ถ้าฝืนความนิยม คนก็ไม่ชอบด”ู
ที่ว่า “แต่งอย่างนั้นผู้หญิงเห็นว่าสวย มักติดใจชอบไปดู มี นอกจากเปลี่ยนรูปแบบการแต่งกายแล้ว ยังแสดงเป็น
ผู้หญิงไปดูมาก พวกผู้ชายก็มักพากันไปดูผู้หญิง การตั้งโรง เรื่องแบบละคร ประกอบท่ารําาอีกเล็กน้อย ดําาเนินเรื่องเร็ว
ยี่เกเป็นข้อสําาคัญอยู่ที่อยากให้มีคนชอบไปดูมาก จึงต้องคิด แทรกเรื่องตลกขบขัน เป็นที่ถูกใจชาวบ้าน จนเกิดวิกลิเกอีก
แต่งตัวยี่เกไปทางนั้น”
หลายแห่งในสมัยนั้น
28