Page 21 - Culture1-2016
P. 21
ลวดลายแกะสลกัรูปเร่ือง
อันงดงามตามเทวาลัย
ในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
บูชายัญ ร่องรอยที่หลงเหลือในปราสาทหินวัดพู
วดั พูลึงคปรวตาเทวาลัยแห่งอาณาจักรจามปาที่
หินสกัดรูปจระเข้ ที่วัดพู คือหลักฐานสําาคัญที่บอก เชิงเขาภเูก้าจําาปาสักประเทศลาวที่นี่เป็นความยิ่งใหญ่
ว่าเคยมีการทําาพิธีกรรมบูชายัญจระเข้ ณ ที่แห่งนี้
ของชาวจามปาอีกแห่งหนึ่ง “ลึงคปรวตา” คือนามของ
ศาสนาพราหมณ์-ฮินดูมีพิธีกรรมบูชายัญ คือ ภูเก้า บนยอดเป็นแท่งหินตั้งสูงใหญ่ มีลักษณะเฉกเช่น
การมอบชีวิตเป็นเครื่องบูชา ถือว่าได้บุญมากและทําาให้ ศิวลึงค์ และนามของภูเขานี้ตรงกับถูกบันทึกไว้บนศิลา
ผู้กระทําาหลุดพ้นจากบาปทั้งปวง หลุมรูปจระเข้จึงเป็น จารึกที่มีอายุกว่า ๑,๕๐๐ ปี หรือราวปี พ.ศ. ๙๐๐ สร้าง
เครื่องมือบังคับไม่ให้ผู้ถูกสังเวยดิ้นรนแสดงอาการความ ขึ้นเป็นเทวาลัยเพื่อถวายแด่องค์ศิวะเทพ
เจ็บปวดทรมานระหว่างพิธีกรรม ซึ่งหากสําาเร็จชีวิตได้เร็ว พื้นผิวขององค์ปราสาทหินที่ถูกแกะสลักเสลารูป
และสงบมากเท่าใดจะได้บุญมากเท่านั้น
เรื่องและลวดลายงดงาม ตามแบบฉบับของเทวาลัยใน
ขณะที่ศาสนาพุทธมีความเห็นตรงกันข้าม ดังที่ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู น่าสนใจไม่แพ้ที่ไหนและยังไม่พอ
พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรงเตอื นพราหมณผ์ กู้ าํา ลงั จะบชู ายญั ยังมีการแกะสลักรปูสัตว์อีกหลากหลายเช่นช้างงูและ
ด้วยชีวิตสัตว์ ดังความตอนหนึ่งจากทุติยอัคคิสูตร ใน พญานาค รวมทั้งมีการสลักหินเป็นหลุมรูปจระเข้เพื่อการ
พระไตรปิฎก กล่าวว่า “...เขาคิดว่าจะทําาบุญ แต่กลับ บชู ายัญ สอดคล้องกับพงศาวดารชาวส่วยที่กล่าวว่า
ทําาบาป คิดว่าจะทําากุศล กลับทําาอกุศล...”
“อยใู่ กลน้ ครหลวง มภี เู ขาลกู หนงึ่ ชอื่ วา่ ลงิ กยิ โปโป
เหน็ ไดว้ า่ แมท้ งั้ สองศาสนาเปน็ ศาสนารว่ มราก ทวา่ (ลึงคปรวตา) หรือเขาศิวบรรพต ที่ยอดภูเขามีปราสาท
ก็มีหลายอย่างแตกต่าง และเมื่อศาสนาพุทธเข้ามาแทนที่ หลงั หนงึ่ มที หารหนงึ่ พนั คนรกั ษาประจาํา อยู่ ปราสาทหลงั นี้
พิธีกรรมบูชายัญจึงค่อยเลือนหาย คงเหลือเพียงร่องรอย สร้างให้แก่เทพเจ้าองค์หนึ่ง โดยมีการฆ่าคนเป็นเครื่อง
จากโบราณสถานที่เป็นหลักฐานยืนยันว่าเคยมีความเชื่อ บูชายัญทุกๆ ปี พระเจ้าแผ่นดินได้เสด็จไปในปราสาท
เรื่องพิธีกรรมบูชายัญมาก่อน
ทําาพิธีบูชายัญด้วยพระองค์เองในเวลากลางคืน”
19
มกราคม-มนี าคม ๒๕๕๙