Page 23 - Culture1-2016
P. 23
จากพราหมณ-์ ฮนิ ดู สพู่ ทุ ธ มหาอาณาจกั รขอม
“ขอม”หนงึ่ ในบรรพบรุ ษุ ชาวไทยในประเทศไทยวนั นี้ชาวขอม
เคยครอบครองอาณาจักรดินแดนแถบฝั่งตะวันออกของแม่น้ําา
เจ้าพระยา ไปจนถึงที่ราบสูงอีสาน ประเทศไทย และที่ราบต่ําาเขมร
ประเทศกัมพูชา ความยิ่งใหญ่ในอารยธรรมขอมไม่ด้อยกว่าจาม
และชวาที่เกิดในช่วงเวลายุคสมัยเดียวกัน คือช่วงเวลาที่ศาสนา
พราหมณ์-ฮินดูกําาลังรุ่งเรืองในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
มหาอาณาจักรขอมโบราณที่สูญหายไปกับพงไพรนับหลาย
ร้อยปีผ่านไป กระทั่งถึง พ.ศ. ๒๑๒๙
อนั โตนโิ อ ดา มกั ดาเลนา
ชาวโปรตุกีส เป็นคนแรกจากโลกภายนอกได้เข้าถึง และต้อง อวโลกิเตศวร และพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗
ตื่นตะลึงกับใบหน้าบุคคลสลักบนหินขนาดมหึมาจําานวนมากมาย ใบหน้าแห่งบายน
ซกุ ซอ่ นตวั อยใู่ นความเขยี วขจแี ละชมุ่ ชนื้ ของปา่ ดงพงทบึ มาเนนิ่ นาน อวโลกิเตศวร เป็นคําาในภาษาสันสกฤต มี
นบั ครงึ่ ศตวรรษ กลายเปน็ เมอื งโบราณกลางปา่ ทลี่ ลี้ บั ความยงิ่ ใหญ่ ความหมายอยา่ งตรงคาํา ตรงตวั วา่ “พระผทู้ ศั นา
ถูกซ่อนตัวเอาไว้อย่างแนบเนียน ดวงตาและรอยยิ้มบนใบหน้า โลก” หรือ “พระผู้ดูแลสรรพสัตว์บนโลก”
ขนาดยักษ์เหล่านั้นปกคลุมไปด้วยมอสเขียวชอุ่ม และเมืองที่ ที่ปราสาทบายน พระพักตร์ของพระองค์มีอยู่
ถูกสร้างขึ้นด้วยหินใหญ่โตราวกับนครของยักษ์ที่สาบสูญ ความ ทกุ ทศิ และตา่ งระดบั ขององคป์ รางคท์ งั้ ๕๔ องค์
เหลือเชื่อเช่นนั้นยากที่จะทําาให้ใครต่อใครในโลกกว้างเชื่อว่า จึงทําาให้พระองค์มองเห็นได้ทั่ว ทรงเป็นผู้ที่
มันเป็นเรื่องจริง
สามารถบรรลพุ ระสมั มาสมั โพธญิ าณ คอื กลบั ไป
จวบจนอีกหลายร้อยปีต่อมา“อองรีมโูอต”์ นักสําารวจชาว เป็นพระพุทธเจ้าเมื่อใดก็ได้ ทว่าพระองค์ยังคง
ฝรั่งเศสได้เข้าถึงที่นั่นอีกคนหนึ่ง และได้พบกับสิ่งมหัศจรรย์นั้น เป็นห่วงสรรพสัตว์บนโลกจึงทรงยั้งพระองค์ไว้
พรอ้ มกบั กลบั ออกมาและเขยี นบทความบรรยายประกาศสงิ่ ทไี่ ดพ้ บ อยู่บนโลกต่อไป
ได้เห็นเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๐๓ ดังมีถ้อยความส่วนหนึ่งว่า “เปน็ นฤมติ พระเจา้ ชยั วรมนั ที่ ๗ พระองคท์ รงสถาปนาคติ
แห่งสถาปัตยกรรม ซ่ึงจะไม่อาจมีส่ิงก่อสร้างอ่ืนใด สร้างมา “พระเจ้าที่ยังมีชีวิต” คือ “พระโพธิสัตว์ อวโล-
แลว้ หรอื จะสรา้ งตอ่ ไป ทา อยา่ งเสมอเหมอื นได”้ เขาหมายถึง กิเตศวร” ขึ้นมา ซึ่งอาจหมายถึงตัวพระองค์เอง
นครวัด ศาสนสถานขนาดใหญ่ที่สุดในโลกถูกสร้างขึ้นในช่วงต้น
เกดิ มาเพือ่ ปดั เปา่ ทกุ ขภ์ ยั ใหแ้ กร่ าษฎร และนกี่ เ็ ปน็
พุทธศตวรรษที่ ๑๗ รัชสมัยของพระเจ้าสุริยวรมันที่ ๒ เพื่อถวาย เหตผุ ลหนึง่ ทีน่ กั ประวตั ศิ าสตรห์ ลายคนกลา่ ววา่
แด่องค์พระวิษณุ และเป็นศาสนสถานของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
ใบหน้าแห่งบายน ก็คือ พระเจ้าชัยวรมันที่ ๗
และพุทธในเวลาต่อมา
ทว่าแต่ละใบหน้านั้นมีความแตกต่างกันไป
พระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ กับการกลับมาที่ยิ่งใหญ่ของพระองค์ มไิ ดเ้ หมอื นกนั ดัง่ ไดถ้ อดแบบมาจากบคุ คลเดยี ว
เพอื่ ชว่ งชงิ ราชบลั ลงั กค์ นื จากพระเจา้ ชยั อนิ ทรวรมนั แหง่ อาณาจกั ร นี่คือข้อสังเกตว่า หากการสร้างด้วยฝีมือให้
จามปา ผู้เข้ามายึดครองที่นี่นานถึง ๔ ปี และพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ เหมือนกันหมดจดนั้นเป็นไปไม่ได้ หรืออาจเป็น
คอื ผเู้ ปลยี่ นแปลงจากมหาอาณาจกั รขอมแหง่ ศาสนาพราหมณ-์ ฮนิ ดู ใบหน้าต่างวัย ในขณะที่พระเจ้าชัยวรมันที่ ๗
ใหเ้ ปน็ มหาอาณาจกั รแหง่ ศาสนาพทุ ธ รวมทงั้ ทรงสรา้ งนครธม และ มีพระชนมายุยาวนานถึง ๙๔ พรรษา...
ใบหนา้ นบั รอ้ ยมหมึ าตระหงา่ นเดน่ ทกุ ทศิ ทาง บนจตั รุ มขุ ปราสาทหนิ
หรอื วา่ ใบหนา้ แหง่ บายน ไมใ่ ชใ่ บหนา้ ของ
หลายสิบยอดของปรางค์ปราสาทบายน ศูนย์กลางแห่งนครธม
พระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ เพียงพระองค์เดียว
21
มกราคม-มนี าคม ๒๕๕๙