Page 16 - CultureMag2015-3
P. 16
หุ่นละครเล็ก
Thai Puppet
◆
เสน่ห์ไทยในเวทีโลกและสุดท้ายที่ จะมาเล่าให้ฟังต่อจากน้ี ก็คือเสน่ห์ไทยที่เป็นเสน่ห์แห่งวัฒนธรรมไทยซ่ึงเป็น
มรดกอันจับต้องไม่ได้ นั่นคือฝีมือในการละเล่นและการแสดงชนิดหนึ่ง ซึ่งนับเป็นการแสดงท่ีใช้ภาษาอันสามารถสื่อสารกันได้
ท่วั โลก นน่ั คอื ภาษาท่าทาง ซึ่งการแสดงนีจ้ ะใช้ภาษาท่าทางโดยการเชิดหุ่นมาเปน็ สื่อในการเลา่ เรื่อง แต่ใช้ทว่ งท่าของนาฏศลิ ป์
ช้นั สงู ของไทยอันเป็นเอกลักษณ์อย่างยิง่ มาเป็นสิ่งทีส่ รา้ งความเปน็ เอกลกั ษณ์โดดเด่นเฉพาะตวั ท้งั ตวั หนุ่ และทั้งคนเชิด ซ่ึงเปิด
ใหผ้ ้ชู มไดเ้ ห็นลีลาท่าทางทง้ั ตวั ผ้เู ชดิ และตัวห่นุ
นั่นคือการแสดงหุ่นเชิดหรือ หุ่นละครเล็กคณะโจหลุยส์ หรือท่ีมีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการในวันนี้ว่า นาฏยศาลา
หนุ่ ละครเลก็ น่ันเอง
หุ่นละครเล็กน้ันตามประวัติความเป็นมาเพ่ิงเกิดขึ้นได้ไม่นาน คือประมาณ ๑๐๐ ปีล่วงมาแล้ว จากแบบอย่างของ
หุ่นหลวง และ หุ่นเล็ก ซึ่งเป็นการแสดงหุ่นชาววังในราชส�ำนัก น�ำมาดัดแปลงประสมประสานเป็นหุ่นนอกวังอันมีลักษณะ
เฉพาะตัว คือมีกลไกเชิดหุ่นได้อย่างละเอียดลออคล่องแคล่ว ลงไปได้ถึงอวัยวะทุกส่วนสัดของตัวหุ่น สามารถเลียนแบบกิริยา
ท่าทางของมนุษย์ได้อย่างครบครัน โดยมีครูใหญ่ของคณะหุ่นนี้คือ ครูแกร ศัพทวณิช เป็นนายโรง น�ำพาคณะหุ่นออกเดินสาย
แสดงไปทว่ั กรงุ ใกลไ้ กล จนได้รบั ความนิยมอยา่ งสูง
แต่ต่อมาด้วยความเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย การแสดงหุ่นละครเล็กก็ได้รับผลกระทบจนท�ำให้ต้องปิดตัวลงไป แต่ ๕๐
ปตี อ่ มา ครสู าคร ยงั เขยี วสด ซง่ึ เตบิ โตขน้ึ ในคณะหนุ่ ละครเลก็ คณะนก้ี ไ็ ดฟ้ น้ื ฟกู ารแสดงขน้ึ มาใหม ่ โดยฝกึ ใหบ้ ตุ รธดิ าทง้ั เกา้ คน
สามารถเชิดหุน่ ได้ทั้งหมด และเร่ิมออกทำ� การแสดงในช่ือคณะใหม่วา่ “คณะโจหลยุ ส์” ในปี ๒๕๒๘
ดว้ ยความมงุ่ มน่ั ในการทำ� การแสดงคณุ ภาพทพี่ ฒั นาขนึ้ เรอื่ ยๆ ดว้ ยแนวคดิ อนั กลา้ หาญของบคุ คลในครอบครวั จนมคี วาม
ทันสมัยในแง่มุมต่างๆ ไปกันได้ดีย่ิงกับยุคสมัย และแม้จะประสบกับความยากลำ� บากจนถึงขนาดต้องยกโรงย้ายวิกกันบ้าง
บางครั้ง จาก โจหลุยส์เธียเตอร์ ที่จังหวัดนนทบุรี มาที่ สวนลุมไนต์บาซาร์ และย้ายต่อมายัง เอเชียทีค เดอะริเวอร์ฟร้อนท์
รมิ แมน่ ำ้� เจา้ พระยา ถนนเจรญิ กรงุ ในปจั จบุ นั การแสดงหนุ่ ละครเลก็ คณะนไี้ ดพ้ ฒั นาไปจนถงึ จดุ ทเ่ี ปน็ การแสดงระดบั นานาชาติ
สามารถแขง่ ขันกบั การแสดงห่นุ จากทว่ั โลกได้อย่างสมศักดศ์ิ รี
ดว้ ยพระอปุ การคณุ อยา่ งยงิ่ ในสมเดจ็ พระเจา้ พนี่ างเธอ เจา้ ฟา้ กลั ยาณวิ ฒั นา กรมหลวงนราธวิ าสราชนครนิ ทร ์ ผปู้ ระทาน
นามใหม่ให้แก่คณะหุ่นละครเล็กว่า “คณะนาฏยศาลา หุ่นละครเล็ก” ทางคณะจึงได้ใช้ช่ืออันเป็นมงคลนามน้ีเรื่อยมา ในวันน้ี
หนุ่ ละครเลก็ คณะนี้ได้รบั การส่งเสริมให้ยกคณะไปแข่งขันในระดับนานาชาต ิ และสามารถนำ� ช่อื เสยี งมาสู่ประเทศไทยหลายคร้งั
โดยเฉพาะรางวลั ชนะเลศิ ระดบั นานาชาตใิ นเทศกาลหนุ่ นานาชาต ิ World Festival of Puppet Arts ทก่ี รงุ ปราก สาธารณรฐั เชก็
มาแลว้ ถึงสองหน
รางวลั ระดบั นานาชาตหิ ลากหลายทไี่ ดร้ บั จงึ เปน็ สง่ิ ยนื ยนั ไดว้ า่ นาฏยศาลา หนุ่ ละครเลก็ ในวนั นน้ี น้ั กา้ วหนา้ ไปไกลจนถงึ
ระดบั โลกแลว้ อยา่ งไมต่ อ้ งสงสยั และเปน็ เสนห่ ไ์ ทยในเวทโี ลกอกี อยา่ งหนงึ่ ทสี่ ามารถแสดงออกซงึ่ วฒั นธรรมการรา่ ยรำ� อนั ออ่ นชอ้ ย
งดงามของคนไทยไปในขณะเดียวกับท่ีใช้ฝีไม้ลายมือในการเชิดหุ่น จนหุ่นสามารถบอกเล่าเรื่องราวด้วยภาษาท่าทางให้ผู้ชม
เข้าใจเร่อื งราวทัง้ หมดได้
14 วฒั นธ รม