Page 15 - apr53

Basic HTML Version

๑๓
ครบรอบ ๓๐ ปี
เมื่
อวั
นที่
๒ เมษายน ๒๕๒๘ เนื่
องด้
วย
พระองค์
ทรงเป็
นองค์
เอกอั
คราชู
ปถั
มภกมรดกวั
ฒนธรรมไทย
และสนั
บสนุ
นกิ
จกรรมอั
นเนื่
องด้
วยงานวั
ฒนธรรมของ
ชาติ
ตลอดมา พระองค์
ทรงเป็
นแบบอย่
างในการบำ
�เพ็
พระราชกรณี
ยกิ
จ และราชจริ
ยวั
ตรในด้
านอนุ
รั
กษ์
มรดก
ของชาติ
ในสาขาต่
างๆ ทั้
งด้
าน พุ
ทธศาสนา ภาษาไทย
และวรรณกรรม ประวั
ติ
ศาสตร์
และโบราณคดี
งานช่
าง
สถาปั
ตยกรรมและดนตรี
ไทย
สมเด็
จพระเทพรั
ตนราชสุ
ดาฯ สยามบรมราชกุ
มารี
ทรงมี
พระอั
ฉริ
ยภาพในหลายด้
าน ทั้
งงานพระราชนิ
พนธ์
ต่
างๆ ทั้
งประเพณี
วั
ฒนธรรม ภาษา และศาสนา ด้
าน
การประพั
นธ์
พระองค์
ทรงให้
ความสนพระทั
ยมาตั้
งแต่
ทรงพระเยาว์
เนื่
องด้
วยทรงเป็
นคนชอบอ่
านหนั
งสื
จนได้
รั
บฉายาว่
า “หนอนหนั
งสื
อ” ทำ
�ให้
ทรงมี
ความรู้
มากมาย ทรงพระราชนิ
พนธ์
ได้
ทั้
งภาษาไทยและภาษา
ต่
างประเทศ รวมถึ
งพระราชนิ
พนธ์
แปลต่
างๆ อาทิ
วรรณวลี
ซึ
งพระราชนิ
พนธ์
เป็
นบทร้
อยกรอง
กษั
ตริ
ยานุ
สรณ์
พระราชนิ
พนธ์
เป็
นโคลงยอพระเกี
ยรติ
พระบาทสมเด็
พระพุ
ทธยอดฟ้
าจุ
ฬาโลกมหาราช พุ
ทธศาสนาสุ
ภาษิ
คำ
�โคลง ทรงพระราชนิ
พนธ์
เพื่
อทู
ลเกล้
าฯ ถวายสมเด็
พระนางเจ้
าสิ
ริ
กิ
ติ์
พระบรมราชิ
นี
นาถ เนื่
องในวโรกาส
วั
นเฉลิ
มพระชนมพรรษาครบ ๓๘ พรรษา
เดิ
นตามรอยพ่
ซึ่
งเป็
นบทพระราชนิ
พนธ์
ที่
แสดงให้
เห็
นถึ
งความตั้
พระทั
ยในพระราชกรณี
ยกิ
จด้
านต่
างๆ เพื่
อประชาชน
ชาวไทยทั้
งของพระองค์
เองและของพระบาทสมเด็
พระเจ้
าอยู่
หั
ว ซึ่
งเป็
นบทพระราชนิ
พนธ์
ที่
ได้
รั
บความ
นิ
ยมมาก และเมื่
อทรงมี
โอกาสเสด็
จประพาสต่
างประเทศ
จะทรงนำ
�ประสบการณ์
ที่
ทรงประสบมาพระราชนิ
พนธ์
เป็
นหนั
งสื
อซึ่
งมี
คุ
ณค่
าทางประวั
ติ
ศาสตร์
วั
ฒนธรรมและ
ประเพณี
ของประเทศนั้
นเป็
นอย่
างดี
ด้
านดนตรี
ไทย สมเด็
จพระเทพรั
ตนราชสุ
ดาฯ
สยามบรมราชกุ
มารี
ทรงโปรดเป็
นอย่
างมาก ทรงหั
ดเริ่
เล่
นซอด้
วงก่
อนเป็
นอั
นดั
บแรก และทรงเล่
นมาตลอดจน
มี
ความสามารถในการเล่
นได้
อย่
างยอดเยี่
ยม ดั
งพระราช
นิ
พนธ์
ตอนหนึ่
งในเรื่
อง เหตุ
ใดข้
าพเจ้
าจึ
งชอบเล่
นดนตรี
ไทย ว่
“ดนตรี
ไทยนี้
เล่
นแล้
วติ
ดจริ
งๆ สบโอกาส
เมื่
อไรก็
ต้
องไปฟั
ง แต่
ก่
อนอธิ
บายได้
ว่
าชอบเพราะ
ชาติ
นิ
ยม หลั
งๆ นี้
ชอบเพราะฟั
งแล้
วสนุ
กตื่
นเต้
มี
ทุ
กรส...”
นอกจากจะโปรดการเล่
นดนตรี
ไทยแล้
ยั
งทรงพระราชนิ
พนธ์
บทเพลง ซึ่
งเพลงแรกที่
ทรง
พระราชนิ
พนธ์
คื
เพลงส้
มตำ
ซึ่
งเป็
นที่
นิ
ยมและชื่
นชอบ
ของประชาชนทั่
วไป เนื่
องจากเป็
นบทพระราชนิ
พนธ์
ที่
เข้
าใจง่
ายแต่
มี
การใช้
ภาษาที่
สละสลวย นอกจากนี้
พระองค์
ทรงพระราชนิ
พนธ์
อี
กหลายเพลง เช่
น เต่
ากิ
ผั
กบุ้
ง เต่
าเห่
เป็
นต้
ด้
วยพระอั
จฉริ
ยภาพของพระองค์
ในปี
พ.ศ.
๒๕๔๖ คณะกรรมการวั
ฒนธรรมแห่
งชาติ
ได้
ทู
ลเกล้
าฯ
ถวายพระสมั
ญญา
“วิ
ศิ
ษฏศิ
ลปิ
น”
แด่
สมเด็
จพระเทพ
รั
ตนราชสุ
ดาฯ สยามบรมราชกุ
มารี
ในฐานะที่
พระองค์
ทรงเป็
นศิ
ลปิ
นผู้
มี
อั
จฉริ
ยภาพหลายสาขาเป็
นที่
ยอมรั
ประจั
กษ์
ชั
ดในวงการศิ
ลปะ
ดั
งนั้
น ในวั
นที่
๒ เมษายน ๒๕๕๓ ซึ่
งเป็
วั
นอนุ
รั
กษ์
มรดกไทย
ที่
จะเวี
ยนมาถึ
งนี้
สำ
�นั
กงาน
คณะกรรมการวั
ฒนธรรมแห่
งชาติ
กระทรวงวั
ฒนธรรม
จึ
งขอเชิ
ญชวนประชาชนชาวไทย ได้
ตระหนั
กถึ
งความ
สำ
�คั
ญของมรดกวั
ฒนธรรมของชาติ
โดยร่
วมกั
นหวงแหน
อนุ
รั
กษ์
และสื
บทอดศิ
ลปวั
ฒนธรรมไทยของเราให้
ดำ
�รง
อยู่
สมกั
บที่
พระองค์
ท่
านได้
บำ
�เพ็
ญพระราชกรณี
ยกิ
จอั
ก่
อเกิ
ดประโยชน์
ต่
อการอนุ
รั
กษ์
ไว้
ซึ่
งศิ
ลปวั
ฒนธรรมของ
ชาติ
เพื่
ออนุ
ชนรุ่
นหลั
งจั
กได้
เกิ
ดความภาคภู
มิ
ใจในความ
เป็
นชาติ
ไทยของเราสื
บไป