Page 57 - sep53

Basic HTML Version

คณะกรรมการวั
ฒนธรรมแห่
งชาติ
,สำ
�นั
กงาน.
ผู้
ใช้
ภาษาไทยดี
เด่
น พุ
ทธศั
กราช ๒๕๕๓.
กรุ
งเทพฯ
: ม.ป.พ, ๒๕๕๓. ๒๕๒ หน้
า. (924.9591 ค123ผ)
นำ
�เสนอประวั
ติ
ชี
วิ
ตและผลงานของผู้
ใช้
ภาษาไทยดี
เด่
น พุ
ทธศั
กราช ๒๕๕๓ ประเภท
ปู
ชนี
ยบุ
คคลด้
านภาษาไทย ผู้
ใช้
ภาษาไทยดี
เด่
น และผู้
ใช้
ภาษาไทยถิ่
นดี
เด่
น ที่
ได้
รั
บประกาศยกย่
อง
เชิ
ดชู
เกี
ยรติ
จากกระทรวงวั
ฒนธรรม จำ
�นวน ๔๑ คน ซึ่
งจะเป็
นส่
วนสำ
�คั
ญในการสร้
างแรงบั
นดาลใจ
ให้
อนุ
ชนรุ่
นหลั
งตระหนั
กถึ
งความสำ
�คั
ญและคุ
ณค่
าของภาษาไทยและภาษาไทยถิ่
น รวมทั้
งผู้
ที่
มี
ความสนใจในการใช้
ภาษาไทย และภาษาไทยถิ่
น เกิ
ดพลั
งที่
จะทำ
�นุ
บำ
�รุ
ง ส่
งเสริ
ม อนุ
รั
กษ์
และ
สื
บทอดภาษาไทยและภาษาไทยถิ่
นอั
นเป็
นสมบั
ติ
ทางวั
ฒนธรรมของชาติ
ให้
คงอยู่
คู่
ชาติ
ตลอดไป
๕๕
คณะเทคโนโลยี
คหกรรมศาสตร์
.
ตำ
�รั
บขนมไทย ในบทเพลงพระราชนิ
พนธ์
พระอาทิ
ตย์
ชิ
งดวงใน
สมเด็
จพระเทพรั
ตนราชสุ
ดาฯ สยามบรมราชกุ
มารี
.
กรุ
งเทพฯ : ม.ป.พ., ๒๕๕๓. ๓๐ หน้
า. (641.86
ค125ต)
คณะเทคโนโลยี
คหกรรมศาสตร์
(โชติ
เวช) มหาวิ
ทยาลั
ยเทคโนโลยี
ราชมงคล พระนคร ได้
จั
ดทำ
ตำ
�รั
บขนมไทยในบทเพลงพระราชนิ
พนธ์
พระอาทิ
ตย์
ชิ
งดวงในสมเด็
จพระเทพรั
ตนราชสุ
ดาฯ สยาม
บรมราชกุ
มารี
เนื่
องในวโรกาสเฉลิ
มพระเกี
ยรติ
สมเด็
จพระเทพรั
ตนราชสุ
ดาฯ สยามบรมราชกุ
มารี
ในฐานะทรงเป็
นองค์
เอกอั
ครชู
ปถั
มภกมรดกวั
ฒนธรรมไทยและทรงเป็
นผู้
มี
อั
จริ
ยภาพด้
านดนตรี
ไทย
ตลอดจนเป็
นที่
ระลึ
กในโอกาสการเสด็
จพระราชดำ
�เนิ
นทอดพระเนตร การแสดงดนตรี
ไทยโดย
ครู
อาวุ
โสแห่
งรั
ตนโกสิ
นทร์
ในวั
นที่
๑๔ กรกฎาคม ๒๕๕๓ ณ ศู
นย์
วั
ฒนธรรมแห่
งประเทศไทย
นำ
�เสนอสู
ตรและวิ
ธี
การทำ
�ขนมไทยในบทเพลงพระราชนิ
พนธ์
พระอาทิ
ตย์
ชิ
งดวง ได้
แก่
ขนมดอกลำ
�ดวน
สั
งขยา ขนมตาล ทองหยิ
บ ฝอยทอง ครองแครง หม้
อแกง ขนมถ้
วย ขนมชั้
น ขนมกล้
วย สามแซ่
แช่
อิ่
ม ปลากริ
มไข่
เต่
กล้
วยแขก และข้
าวเม่
า รวม ๑๕ ชนิ
ห้
องสมุ
ดวั
ฒนธรรม สวช.
วั
ฒนธรรม, กระทรวง, ผู้
จั
ดพิ
มพ์
.
ข้
าวของพ่
อ.
กรุ
งเทพฯ : ม.ป.พ., ๒๕๕๒. ๑๗๖ หน้
า. (633.18
ว394ข)
เพื่
อเฉลิ
มพระเกี
ยรติ
พระบาทสมเด็
จพระเจ้
าอยู่
หั
ว เนื่
องในโอกาสครบ ๖๐ ปี
พระราชพิ
ธี
บรมราชาภิ
เษก วั
นที่
๕ พฤษภาคม ๒๕๕๓ กอรปกั
บโอกาสพระราชพิ
ธี
พื
ชมงคลจรดพระนั
งคั
แรกนาขวั
ญ เขี
ยนโดยนางสาววิ
มลพรรณ ปิ
ตธวั
ชชั
ย เนื้
อหาบอกเล่
าเรื่
องราวของข้
าวตั้
งแต่
อดี
จนถึ
งปั
จจุ
บั
นด้
วยภาษาที่
สละสลวย เข้
าใจง่
าย ประการสำ
�คั
ญคื
อ สะท้
อนพระราชกรณี
ยกิ
จและ
พระมหากรุ
ณาธิ
คุ
ณของพระบาทสมเด็
จพระเจ้
าอยู่
หั
ว ที่
ทรงมี
ต่
อชาวนาไทยในฐานะกระดู
กสั
นหลั
ของชาติ
โดยได้
พระราชทานขวั
ญกำ
�ลั
งใจ ทรงห่
วงใยพระราชทานความช่
วยเหลื
อ แนะนำ
� เกี่
ยวกั
การปลู
กข้
าวมาโดยตลอด จนเป็
นที่
มาของ
“ข้
าวของพ่
อ”
จะช่
วยให้
คนไทยได้
ศึ
กษาเรี
ยนรู้
ตระหนั
ถึ
งประโยชน์
และคุ
ณค่
าความสำ
�คั
ญของข้
าวเป็
นอย่
างดี
ประการสำ
�คั
ญ คื
อ ทำ
�ให้
เข้
าใจความหมายของ “ข้
าวของพ่
อ” ได้
อย่
างลึ
กซึ้
ชั
ดเจน และน้
อมสำ
�นึ
กในพระมหากรุ
ณาธิ
คุ
ณอั
นยิ่
งใหญ่
ไพศาลของพระบาทสมเด็
จพระเจ้
าอยู่
หั
วในฐานะ “พ่
อแห่
งแผ่
นดิ
น”