Page 22 - june53

Basic HTML Version

๒๐
เมื่
อเราอ่
านวรรณคดี
เราต้
องทำ
�ความเข้
าใจกั
คำ
�ในวรรณคดี
ซึ่
งอาจเป็
นโบราณิ
กศั
พท์
คำ
�ภาษาท้
องถิ่
คำ
�ประดิ
ษฐ์
ที่
กวี
สร้
างขึ้
น และคำ
�ภาษาต่
างประเทศ เช่
น บาลี
สั
นสกฤต เขมร ทมิ
ฬ ฯลฯ ในที่
นี้
จะยกตั
วอย่
างบางส่
วน
ให้
เห็
นว่
า คำ
�บางคำ
�มี
ความหมายต่
างกั
บคำ
�ที่
ใช้
ในปั
จจุ
บั
และคำ
�บางคำ
�กวี
ใช้
ในความหมายต่
างกั
บความหมายที่
รั
บรู้
กั
นอยู่
ทั่
วไป
หื่
หมายความว่
า มี
ความอยากอย่
างแรงกล้
ในวรรณคดี
มั
กใช้
คำ
�นี้
ในความหมายถึ
งความกระตื
อรื
อร้
นที่
จะออกรบทำ
�สงครามอย่
างกล้
าหาญ มี
ความห้
าวหาญฮึ
กเหิ
ดั
งปรากฏในบท
โคลงยวนพ่
าย
วรรณกรรมสมั
ยอยุ
ธยา ว่
พลหลวงหลายคอบค้ำ
� คั
บทาง ท่
งแฮ
ขุ
นดาบขุ
นเรื
อหาญ
หื่
นด้
าว
ขนั
ดพลชนตาง
ง่
าอยู่
อย่
ายแฮ
หั
นหอกขอเงื้
อง้
าว
ง่
าตาวฯ
มี
ความหมายว่
ากองทั
พหลวง (ของสมเด็
จพระบรม
ไตรโลกนาถ) มี
ไพร่
พลมากมายเต็
มทั่
วทั้
งท้
องทุ่
ง นายทหาร
ที่
ควบคุ
มกองดาบและนายทหารที่
ควบคุ
มกองเรื
อ ซึ่
งมี
มากมายเต็
มแผ่
นดิ
น ล้
วนห้
าวหาญ และฮึ
กเหิ
มที่
จะเข้
าต่
อสู้
กั
บกองทั
พของฝ่
ายโยนก (ซึ่
งพระเจ้
าติ
โลกราชเป็
นแม่
ทั
พ)
เหล่
าไพร่
พลที่
เนื่
องแน่
นนี้
ต่
างเงื้
อง่
าอาวุ
ธทั้
งหอก ดาบ
ขอ ง้
าว มองเห็
นอยู่
เรี
ยงราย
ใน
ลิ
ลิ
ตตะเลงพ่
าย
พระนิ
พนธ์
ของสมเด็
จฯ กรมพระ
ปรมานุ
ชิ
ตชิ
โนรส ในสมั
ยรั
ชกาลพระบาทสมเด็
จพระนั่
งเกล้
เจ้
าอยู่
หั
วก็
พรรณนาถึ
งความกล้
าหาญ ฮึ
กเหิ
มของเหล่
าทหาร
กองทั
พสยามที่
จะรบพุ่
งทำ
�สงครามกั
บพวกมอญ (พม่
า) และ
เข่
นฆ่
าให้
ราบคาบ ดั
งนี้
พลไกรล้
วนกลั่
นกล้
า กลางสมร
อาจจั
กห้ำ
�หั่
นมอญ
ขาดเกล้
แสนญาพลากร
ต่
างหื่
น หาญเฮย
คอยจั
กโรมจั
กเร้
จั
กร้
าราญเขญฯ
ในปั
จจุ
บั
น คำ
�ว่
หื่
กลั
บถู
กใช้
ในความหมาย
เชิ
งลบถึ
งความกระหายในความใคร่
อย่
างรุ
นแรงจนแทบ
ไม่
อาจระงั
บได้
มั
กใช้
ในกรณี
ที่
มี
การทำ
�ร้
ายทางเพศหรื
ก่
ออาชญากรรมทางเพศ เราจะพบคำ
�นี้
ในข่
าวและใน
วรรณกรรมร่
วมสมั
ย คำ
�ว่
หื่
ในความหมายทางบวกที่
แสดงถึ
งความลิ
งโลดใจ ความหาญกล้
าในการต่
อสู้
แทบไม่
มี
ใช้
แล้
ว นอกจากในร้
อยกรอง โดยใช้
คำ
�ว่
หื่
นหาญ
เพื่
อเน้
ว่
าหมายถึ
งความกล้
าหาญ
แกล้
ในปั
จจุ
บั
นคำ
�นี้
หมายความว่
า รั
งแก ทำ
�ให้
รำ
�คาญ เดื
อดร้
อน เช่
น ต้
นชอบ
แกล้
น้
อง, เสแสร้
ง ทำ
เล่
น ๆ ไม่
เอาจริ
ง เช่
น ต้
แกล้
ทำ
�เป็
นป่
วย จะได้
ไม่
ต้
องไป
โรงเรี
ยน พจนานุ
กรมฉบั
บราชบั
ณฑิ
ตยสถานให้
ความหมายที่
๓ ไว้
ด้
วยว่
า “จงใจทำ
� พู
ดหรื
อแสดงอาการอย่
างใดอย่
างหนึ่
เพื่
อให้
เขาเสี
ยหาย อาย เดื
อดร้
อน ขั
ดข้
อง เข้
าใจผิ
ด เป็
นต้
เช่
น ข้
าพเจ้
าไม่
ได้
ทำ
�ผิ
ดเลย แต่
เขา
แกล้
งมาใส่
ร้
าย
” ผู้
เขี
ยน
บทความเห็
นว่
าสำ
�นวน
แกล้
งใส่
ร้
าย
หรื
แกล้
งมาใส่
ร้
าย
น่
าจะหมายความว่
า รั
งแกอี
กฝ่
ายหนึ่
งโดยพู
ดจาให้
ร้
ายว่
ฝ่
ายนั้
นพู
ด หรื
อทำ
�ไม่
ดี
อั
นทำ
�ให้
ผู้
อื่
นเข้
าใจผิ
ด ซึ่
งมี
นั
ความหมายว่
าตั้
งใจกระทำ
�เช่
นนั้
ส่
วนคำ
�ว่
แกล้
ซึ่
งเป็
นศั
พท์
โบราณที่
ใช้
ในวรรณคดี
มี
ความหมายอย่
างเดี
ยวว่
าจงใจ หรื
อตั้
งใจ ตรงข้
ามกั
บคำ
�ว่
แสร้
หมายถึ
ง หลอก หรื
อ ทำ
�ให้
เข้
าใจผิ
ด ตั
วอย่
างคำ
�ว่
แกล้
ง ในบทโคลงในทวาทศมาส มี
ดั
งนี้
การกลอนนี้
ตั้
งอาทิ
กวี
หนึ่
งนา
เยาวราชสามนต์
ไตร
แผ่
นหล้
ขุ
นพรหมมนตรี
ศรี
กวี
ราช
สารประเสริ
ฐฦๅช้
ช่
วยแกล้
งเกลากลอน
โคลงบทนี้
บ่
งบอกชื่
อกวี
ผู้
แต่
งโคลงทวาทศมาส ซึ่
เป็
นวรรณคดี
ในสมั
ยอยุ
ธยาตอนต้
น แต่
ข้
อสั
นนิ
ษฐานเกี่
ยวกั
ผู
แต่
งยั
งไม่
ยุ
ติ
บ้
างก็
ว่
าเป็
นพระนิ
พนธ์
ของสมเด็
จพระยุ
พราช
โดยมี
ขุ
นพรหมมนตรี
ขุ
นศรี
กวี
ราช และขุ
นสารประเสริ
เป็
นกวี
ช่
วยขั
ดเกลาด้
วยความตั้
งอกตั้
งใจ บ้
างก็
ว่
ากวี
ทั้
สามนี้
ตั้
งใจแต่
งถวายสมเด็
จพระยุ
พราช ส่
วนจะเป็
นสมเด็
พระยุ
พราชสมั
ยสมเด็
จพระบรมไตรโลกนาถหรื
อสมั
ยใดนั้
นก็
ยั
งเป็
นปั
ญหาในการตี
ความต่
อไปเช่
นกั
น อย่
างไรก็
ตาม คำ
�ว่
แกล้
ในที่
นี้
มี
ความหมายว่
าตั้
งใจ กวี
ตั้
งใจแต่
งบทกวี
เรื่
องนี้
อย่
างประณี
ต พิ
ถี
พิ
ถั
วั
ฒนธรรมภาษา