วารสารวั
ฒนธรรมไทย
32
วั
ฒนธรรมภาษา
ศาสตราจารย์
ดร.รื่
นฤทั
ย สั
จจพั
นธุ์
...เรื่
อง
นปั
จจุ
บั
น เราหลี
กเลี่
ยงการใช้
เครื่
องคอมพิ
วเตอร์
ช่
วยการทำงานแทบไม่
ได้
เพราะสะดวก รวดเร็
ว
บั
นทึ
กข้
อมู
ลไว้
ครบถ้
วน (ถ้
าฮาร์
ดดิ
สก์
ไม่
เสี
ย)
สามารถค้
นหาข้
อมู
ลความรู้
จากที่
ต่
าง ๆ ได้
กว้
างขวาง รวดเร็
ว
นอกจากนี้
ยั
งเป็
นเครื่
องมื
อสื่
อสารในการติ
ดต่
อสนทนากั
นด้
วย
คนรุ่
นใหม่
โดยเฉพาะเยาวชนใช้
ห้
องสนทนา (chat room) เป็
น
แหล่
งพบปะเพื่
อนนิ
รนาม เพื่
อแสดงความคิ
ด ความรู้
สึ
กกั
นอย่
าง
อิ
สระ คนที่
ได้
อ่
านข้
อความในห้
องสนทนาทางอิ
นเทอร์
เน็
ต
ถ้
าไม่
คุ้
นเคยก็
คงต้
องตั้
งสติ
นานหน่
อยกว่
าจะเข้
าใจความหมาย
เพราะรู
ปคำ รู
ปประโยคแตกต่
างไปจากภาษาไทยที่
ใช้
เป็
นสามั
ญ
ทั่
วไป เมื่
อวั
นสงกานต์
ที่
ผ่
านมา ผู้
เขี
ยนได้
เปิ
ดเข้
าไปในห้
อง
สนทนาของ www. pantip.com มี
ข้
อความที่
คั
ดลอกมาให้
เห็
น
เป็
นตั
วอย่
างว่
าวั
ฒนธรรมภาษาไทยเปลี่
ยนไปอย่
างไร
ใ
: เสดแระก็
วิ่
งหนี
ปาย
: อิ
อิ
บาย ๆ ค่
ะ โชคดี
ทุ
กคน
: ปายแระ ฟี้
ววววววววววววววววววววว
: มะเปงรั
ย เด่
วค่
อยฉี
ดน้
ำตามหลั
งนะ
: อิ
ๆ ๆ มะทานเระ จาบได้
แระ
: เพ่
เซปายหนายเระ มาหั้
ยจาบรดน้
ำดำหั
ว
ปู้
หย่
ายหน่
อยจิ
: ฤ จาบเพ่
เยิ้
มรดน้
ำดำหั
วดี
อะ อิ
ๆ ๆ
: เด๋
วเปี
ยกมะชอบน้
ำ
: มะให้
จาบแระ
ถ้
าถอดเป็
นภาษาไทยสามั
ญ ก็
คงจะเป็
นว่
า
: เสร็
จแล้
วก็
วิ่
งหนี
ไป
: ฮิ
ฮิ
ลาก่
อน (Bye) ค่
ะ โชคดี
ทุ
กคน
: ไปแล้
ว ฟิ้
ว (เสี
ยงแสดงความเร็
ว)
: ไม่
เป็
นไร เดี๋
ยวค่
อยฉี
ดน้
ำตามหลั
งนะ
: ฮิ
ฮิ
ฮิ
ไม่
ทั
นแล้
ว จั
บได้
แล้
ว
: พี่
เซไปไหนแล้
ว มาให้
จั
บรดน้
ำดำหั
วผู้
ใหญ่
หน่
อยสิ
: หรื
อจั
บพี่
ยิ้
มรดน้
ำดำหั
วดี
นะ ฮิ
ฮิ
ฮิ
: เดี๋
ยวเปี
ยก ไม่
ชอบน้
ำ
: ไม่
ให้
จั
บแล้
ว
ครู
บาอาจารย์
และผู้
หลั
กผู้
ใหญ่
เห็
นภาษาแบบนี้
แล้
วคง
ตกใจและกั
งวลใจว่
าภาษาไทยผิ
ดเพี้
ยนไปได้
ถึ
งเพี
ยงนี้
เชี
ยวหรื
อ
อนาคตภาษาไทยจะย่
อยยั
บขนาดไหน ความจริ
งถ้
าผู้
ใหญ่
วั
นนี้
นึ
กย้
อนไปถึ
งวั
ยที่
ตั
วเองเป็
นเด็
ก คงจำได้
มี
เด็
กวั
ยรุ่
นบางกลุ่
มคิ
ด
สร้
างภาษาเป็
น “รหั
สลั
บ” อ่
านได้
เฉพาะคนในกลุ่
ม เช่
น อาจจะ
เขี
ยนตั
วหนั
งสื
อกลั
บหลั
ง หรื
อ อาจจะกำหนดให้
เอาตั
วอั
กษรบาง
ตั
วออก ลั
กษณะเช่
นนี้
เป็
นอารมณ์
วั
ยรุ่
นที่
ต้
องการสร้
างลั
กษณะ
เฉพาะตั
ว ต่
อต้
านกฎเกณฑ์
ของผู้
ใหญ่
การใช้
ภาษาในสื่
อ
อิ
เล็
กทรอนิ
กส์
ก็
เช่
นเดี
ยวกั
น เพี
ยงแต่
อุ
ปกรณ์
อิ
เล็
กทรอนิ
กส์
ช่
วย
ให้
ผู้
ใช้
สามารถสื่
อสารแบบตั
วต่
อตั
วได้
รวดเร็
วขึ้
น ความรวดเร็
ว
และความต้
องการสร้
างอั
ตลั
กษณ์
ของภาษาเฉพาะกลุ่
ม มี
ส่
วน
ทำให้
ภาษาที่
ส่
งผ่
านสื่
ออิ
เล็
กทรอนิ
กส์
ไม่
ว่
าจะในโทรศั
พท์
มื
อถื
อ
หรื
อในห้
องสนทนาทางอิ
นเทอร์
เน็
ต มี
ลั
กษณะสั้
น และมี
การ
ประดิ
ษฐ์
คำให้
ต่
างไปจากภาษามาตรฐาน เป็
นต้
นว่
า ไม่
มี
ตั
ว ร, ล
ควบกล้
ำ เช่
น จริ
ง เป็
น จิ
ง กลั
ว เป็
น กั
ว หรื
อ คำที่
ไม่
มี
ตั
วควบกล้
ำ
ก็
เติ
มเข้
าไป เช่
น เก๋
เป็
น เกร๋
บ้
า เป็
น บร้
า คำที่
ควบกล้
ำด้
วย
ล เปลี่
ยนเป็
น ร เช่
น แล้
ว เป็
น แร๊
ว คำที่
มี
สระเสี
ยงสั้
นเปลี่
ยน