Page 53 - Culture3-2016
P. 53










๑-๓ยโสธรได้นับเอาบุญบั้งไฟเป็นงานบุญสาําคัญประจําาปีของจังหวัดนอกจากการจุดบั้งไฟเพื่อขอฝนตามความเชื่อดั้งเดิมแล้วยโสธรยังจัดขบวนแหบ่งั้ไฟ 

สวยงามการประกวดและการส่งเสริมเอกลักษณท์อ้งถิ่นจนปัจจบุันบุญบงั้ไฟยโสธรได้กลายเป็นงานบุญท่ีมชี่ือเสยีงกระจายไปในระดับประเทศ
๔นอกจากจะเปน็งานประเพณีประจาําปีแล้วบญุบง้ัไฟยังเป็นงานบญุท่ีเปดิโอกาสให้ชมุชนได้ร่วมแรงร่วมใจกันในการประกอบพิธีกรรมและการละเล่นอยา่ง 

พร้อมเพรียง และเม่ือฝนแรกโปรยปรายลงมาหลังจากบ้ังไฟถูกจดุ ขึ้นไป พวกเขาก็จะร่วมยินดีกันอย่างเต็มท่ี









๑.

พญาแถนเปน็ ฝา่ ยปราชยั ตอ่ พญาคนั คากในการสกู้ นั บนหลงั ชา้ ง 

ยามเย็นใกล้ค่าของวันที่ ๑๔ พฤษภาคม ณ “วมิ าน กอ่ นถกู จบั มดั ไวอ้ ยา่ งหมดทา่ บนเวที ทา่ มกลางความสนกุ สนาน 

พญาแถน” จังหวัดยโสธร ซ่ึงมีสัญลักษณ์โดดเด่นคืออาคาร ของผู้ชมรายรอบ ทั้งคนอีสานเองและกลุ่มนักท่องเที่ยวท่ีมา 


สถาปัตยกรรมรูป “พญาคันคาก” หรือคากคกยักษ์ตัว ร่วมงาน

ตะปุ่มตะป่าน่ังตระหง่านอยู่ริมลาน้าทวน กาลังจะมีการแสดง พญาแถนยอมรับความพ่ายแพ้และเจรจาขอสงบศึก 

ละครเรื่องตานานพญาคันคาก ซึ่งเป็นที่มาของประเพณี พญาคันคากจึงย่ืนเง่ือนไขให้พญาแถนบันดาลฝนตกสู่โลก 


บุญบั้งไฟนั่นเอง
ดังเดิม โดยต่อไปนี้หากมนุษย์ต้องการฝนเม่ือใด ก็จะจุดบั้งไฟ 

ตานานเกา่แกข่องชาวลมุ่น้าโขงทถี่กูเลา่ขานสบืตอ่กนัมา ขนึ้สู่ฟ้าเป็นสญัญาณให้พญาแถนรบัรู้


นบั พนั ปี มาถงึ ยคุ นไ้ี ดถ้ กู ปรบั โฉมใหก้ ลายเปน็ ละครเวทปี ระกอบ ๒.

แสงสีเสียงตื่นตาเร้าใจ ทว่ายังคงแก่นเรื่องเดิมเล่าถึง “พญา 

คันคาก” เจ้าชายแห่งเมืองอินทปัตถ์นครซ่ึงเมื่อแรกประสูติ ตานานเรื่องพญาคันคากหรือคางคกยกรบพญาแถน 


มผี วิ พรรณตะปมุ่ ตะปา่ คลา้ ยคางคก แตด่ ว้ ยความเพยี รปฏบิ ตั ธิ รรม นอกจากเปน็ ทมี่ าของประเพณบี ญุ บงั้ ไฟ ยงั สะทอ้ นถงึ ความเปน็ 

จึงเปล่ียนโฉมเป็นชายรูปงาม มนุษย์และสรรพสัตว์ท้ังหลาย สงั คมเกษตรกรรมของชาวอสี าน ทตี่ อ้ งการใหฝ้ นตกตามฤดกู าล 

พากันยกย่องสรรเสริญกระท่ังลืมบวงสรวงพญาแถน-เทวดา เพ่ือจะได้มีน้าเพียงพอสาหรับทานาปลูกข้าวหรือเพาะปลูก 


ผู้ควบคมุฟ้าฝน
พืชอื่นๆ

พญาแถนโกรธเคืองโลกมนุษย์มาก จึงไม่อนุญาตให้ บุญบั้งไฟหรือบุญเดือนหกจึงเป็นประเพณีสา คัญท่ีชาว 


พญานาคลงเล่นน้าในสระบนสวรรค์ เป็นเหตุให้ฝนไม่ตก อีสานปฏิบัติสืบมาแต่โบราณจนถึงทุกวันนี้ นอกจากจังหวัด 

เปน็ เวลา ๗ ปี ๗ เดอื น ๗ วนั เกดิ ความแหง้ แลง้ ไปทกุ หยอ่ มหญา้ ยโสธรแล้วยังจัดทั่วไปทั้งที่จังหวัดร้อยเอ็ด สุรินทร์ ศรีสะเกษ 

จนมวลหมู่มนุษย์ สัตว์ และพืชต้องลาบากยากแค้นแสน อุบลราชธานี อา นาจเจริญ ฯลฯ


สาหสั
งานบุญบั้งไฟท่ีทากันมาแต่เดิมน้ันจัดเพียงสองวัน คือ 

ร้อนถึงพญาคันคากจึงคิดการรวบรวมไพร่พลประกอบ วันแรกเรียกว่า “วันโฮม” เป็นวันแห่ขบวนบ้ังไฟไปรวมกัน 

ด้วยคนและสัตว์ต่างๆแล้วให้หมู่ปลวกก่อมูลดินสร้างถนน 
และวนัรุ่งข้ึนเป็นวนัจดุบง้ัไฟ

ทอดสู่ท้องฟ้า เป็นเส้นทางให้ชาวโลกยกทัพขึ้นไปทา สงคราม หากหมู่บ้านใดประชุมกันแล้วว่าปีนี้จะจัดงานบุญบั้งไฟ 

กบัพญาแถนถึงวิมานบนสวรรค์
ก็จะบอกบุญไปยังหมู่บ้านใกล้เคียงที่มีสายสัมพันธ์ต่อกัน 


เม่ือละครเวทีเล่นมาถึงตอนสาคัญสปอตไลต์หลากสี หมู่บ้านที่ตอบรับจะทาบัง้ไฟมาร่วมด้วย

ก็สาดลาแสงวูบวาบ ดนตรีโหมกระหึ่มราวเพลงประกอบ ในยามเย็นของวันโฮม ท้ังหมู่บ้านเจ้าภาพและหมู่บ้าน 

ภาพยนตร์ ระหวา่ งทกี่ องทพั ทงั้ สองฝา่ ยผลดั กนั แพช้ นะ สดุ ทา้ ย
ที่มาร่วมงานจะจัดขบวนแห่บ้ังไฟของตนเข้าไปสู่บริเวณวัด





51
กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๙ 



   51   52   53   54   55