Page 38 - Culture3-2016
P. 38
ภาพปกหนังสือตานานพระธาตุเมืองนครศรีธรรมราช และภาพวาดแสดงให้เห็นว่าพระบรมธาตุองค์ปัจจุบันเป็นทรงระฆังหรือทรงโอคว่า
สร้างครอบทับพระบรมธาตุองค์เดิมที่เป็นทรงสถาปัตยกรรมศรีวิชัย
ตานาน
พระบรมธาตุนครศรีธรรมราชแต่ละสานวน ตานานท่ีนิยมอ้างอิงในหมู่นักวิชาการมี ๒ ฉบับคือ
มีเน้ือหารายละเอียดและความสมบูรณ์แตกต่างกัน แต่มี “ตา นานพระบรมธาตนุ ครศรธี รรมราช” กับ “ตา นานเมอื ง
เค้าโครงเรื่องหลักเหมือนกันคือ เป็นบันทึกประวัติศาสตร์ นครศรธี รรมราช”
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาจากอินเดียและลังกามายังภาคใต้ “ตานานพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช” ซึ่งมีการ
ของประเทศไทย โดยมศี นู ย์กลางอยทู่ น่ี ครศรธี รรมราช และเปน็ จัดพิมพ์เป็นทางการโดยกรมศิลปากร จัดพิมพ์ครั้งแรกในปี
บันทึกพัฒนาการของเมืองนครศรีธรรมราชโดยมีพระบรม-
๒๔๗๑ ในหน้าคานาของหนงั สือบอกเล่าทมี่ าด้วยว่า
สารีริกธาตุซึ่งฝังอยู่ท่ีหาดทรายแก้วเป็นศูนย์กลางแห่ง “ขณะนั้นกรมหม่ืนพิทยาลงกรณ์ผู้เป็นอุปนายกของ
ความศรทั ธา และเลา่ ถงึ กศุ โลบายการทา นบุ า รงุ พระบรมธาตเุ จดยี ์ ราชบัณฑิตสภาได้นิพนธ์คาอธิบายไว้ว่า หนังสือนี้พิมพ์ตาม
นครศรธีรรมราชซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงของการสร้างสรรค์ความเจรญิ ต้นฉบับท่ีมีอยู่ในหอพระสมุดวชิรญาณเป็นหนังสือกระดาษ
ให้แก่เมืองนครศรีธรรมราช ทั้งด้านอาณาจักรและศาสนจักร ฝร่ังเขียนเส้นหมึก ต้นฉบับเป็นสาเนาคัดจากหนังสือเก่า
ตลอดเวลายาวนานหลายศตวรรษจวบจนถึงปัจจบุัน
เหน็ได้ตามตวัสกดแลถ้อยคาสานวนซงึ่เก่าก่อนเวลาทใี่ช้หมกึ
และกระดาดอย่างนั้น
36