Page 98 - Culture2-2016
P. 98
๑
๑ ครุฑที่มุมท้ังสี่ของเรือนยอดปราสาท พระที่น่ังดุสิตมหาปราสาท พระบรมมหาราชวัง
๒ เทพทรงครุฑ ประติมากรรมปูนปั้น ประเทศอินโดนเี ซยี ๓ ไมแ้ กะสลักลงสรี ปู ครฑุ จงั หวดั นา่ น
ครฑุ ครฑุ า ภาษาอังกฤษสะกดว่า GARUDA จึงออก ชนชาติให้เห็นเสมอ สาหรับครุฑในประเทศไทยและประเทศ
เสียงเป็น “การดู า้ ” แต่ไม่ว่าจะเป็น ครฑุ ครฑุ า หรือการดู า้ อินโดนีเซียมีความสา คัญอย่างสูงด้วยเป็นตราแผ่นดนิ
ล้วนเป็นเทพองค์เดียวกัน มีท่ีมาจากเทพพญานกในตานาน ในพทุ ธศาสนาครฑุ จดั เปน็ เทวดาชน้ั ล่างในการปกครอง
โบราณของชาวพุทธชาวทมฬิและชาวฮินดูครฑุเป็นพญานกของท้าววิรุฬหกในขอบเขตสวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกาด้าน
ท่ีมีร่างกายเป็นทองคา ปีกสีแดง มีจะงอยปากอย่างนกอินทรี ทิศใต้ และเหตุที่เกิดมาเป็นครุฑก็เพราะเปี่ยมไปด้วยบุญแต่
ครุฑมีขนาดใหญ่โตมากขนาดที่ว่าสามารถบดบังดวงอาทิตย์ ยงัมโีมหะโกรธา
จนทาให้กลางวนัเป็นกลางคืนได้
ครุฑในภูมิภาคอาเซียนถูกนามาโดยศาสนาพราหมณ์-
ฮินดู ในมหากาพย์รามายณะ ท่ีกล่าวว่า ครุฑเป็นพี่น้อง
ต่างมารดากับนาค แต่ทว่าเกิดทะเลาะกันจนกลายเป็นศัตรู
ครุฑปรากฏในศิลปกรรมแขนงต่างๆ ของชาวอาเซียน
ทั้งมัณฑนศิลป์ สถาปัตยกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม
รวมท้ังนาฏศิลป์ นอกจากนั้นยังพบเห็นครุฑตามพุทธสถาน
และศาสนสถานในศาสนาพราหมณ-์ฮนิ ดูตลอดจนในโรงละคร
นาฏศิลป์ประจาชาติต่างๆ ยังมีครุฑในรูปแบบแต่ละพ้ืนถ่ิน
๒
96