Page 90 - Culture2-2016
P. 90








เหตุที่ชุมชนแห่งนี้ชื่อว่า “บา้ นลาว” เพราะบรรพบุรุษ 

เป็นชาวลาวเวียงจันทน์ที่ถูกกวาดต้อนมาสู่กรุงรัตนโกสินทร์ใน 

ช่วงศึกสงครามถึงสองระลอก คือในปี พ.ศ. ๒๓๒๑ และ พ.ศ. 


๒๓๖๗โดยพวกเขาไดน้าความรแู้ละทกัษะการทาขลยุ่และแคน 

ซึ่งเป็นเครื่องดนตรีพื้นบ้านติดตัวมาด้วย


ครสู นุ ยั บอกวา่ บรรพบรุ ษุ ของเขาทพี่ ลดั พรากจากบา้ นเกดิ 

เมอื งนอนมาไกล จงึ อาศยั เสยี งเพลงเป็นสอื่ ให้คลายความเหงา 

และคิดถึงถิ่นเกิด เป็นที่มาของการผลิตขลุ่ยและแคนในชุมชน 


บ้านลาว แต่ภายหลังวัสดุที่นามาใช้ทาแคนหายากจึงเลิก 

ผลิตไป เหลือแต่ขลุ่ยเพียงอย่างเดียว

“ตอนแรกเขาไม่ได้ทาขลุ่ยเพื่อขายนะ แต่ใช้เป็นของ 
แผ่นไม้ใช้สําาหรับทําาเคร่ืองหมายเพื่อเจาะรูบนขลุ่ย

แลกเปลยี่ นกบั บา้ นอนื่ เชน่ บา้ นเธอมขี า้ วหรอื มผี กั กเ็ อามาแลกกนั ”






























การใช้มีดปาดดากขลุ่ยเป็นขั้นตอนที่ต้องใช้ฝีมือและความระมัดระวัง
ขั้นตอนการใส่ดากเข้าในเลาขลุ่ย








“เราได้เห็นการทาขลุ่ยมาตั้งแต่ลืมตาจาความได้ ครูสุนัยเล่าว่าชุมชนบ้านลาวเพิ่งเร่ิมผลิตขลุ่ยเพ่ือขาย

โตขึ้นมาหน่อยก็ต้องช่วยที่บ้านทาขลุ่ย เพื่อนวิ่งเล่นกัน
ในยุคหลัง เมื่อประมาณ ๖๐ ปีมาแล้ว โดยมีการสืบทอด


ภมูปิญัญาการทาขลยุ่จากรนุ่สรู่่นุจากพ่อแม่สลู่กูหลานดงัเช่น แต่เรานัง่ขัดเงาขลุ่ย”

ครูสุนัยที่นับเป็นคนรุ่นที่ ๔ ของชุมชน ก็เติบโตมาจากบ้าน ครสู นุ ยั ระลกึ ถงึ วยั เยาวข์ องตน กอ่ นเลา่ ถงึ กระบวนการ 


ท่ีทาขลุ่ยได้เรียนรู้ฝึกฝนการทาขลุ่ยจากพ่อของตนเองคือ ผลิตขลุ่ยบ้านลาวทีเ่ขาได้รู้เห็นและสมัผสัมาตงั้แต่เดก็ 

ครูจรินทร์ กลิ่นบุปผา ช่างทาขลุ่ยชั้นครูท่ีมีฝีมือเป็นที่ยอมรับ ขลยุ่ ตอ้ งทา จากไมเ้ นอ้ื แขง็ ในสมยั กอ่ นเลอื กใชแ้ ตไ่ มร้ วก 

นบัถอืในวงการ หรอืไมไ้ผร่วกเทา่นนั้แหลง่ไมร้วกของชมุชนบา้นลาวอยทู่ห่ีมบู่า้น





88




   88   89   90   91   92