Page 31 - Culture2-2016
P. 31
๒
๑-๒ ชาวลา้ นนาในอดตี มกั ประดิษฐ์โคมเพ่อื จดุ ประดบั ในเทศกาลย่เี ป็ง เพื่อสกั การะบชู าพระพทุ ธเจา้ ในคนื วันเพญ็ เดอื นสบิ สอง
ปจั จบุ นั นยิ มทําาโคมถวายพระท่วี ดั เพ่อื เปน็ พทุ ธบชู า นอกจากน้นั โคมลา้ นนายงั ถกู นาํา ไปใชต้ กแตง่ เพ่อื ความสวยงาม เชน่ ตกแตง่ โรงแรม
รสี อรต์ สถานท่รี าชการ ฯลฯ
ย้อนกลับไปในห้วงประวัติศาสตร์ แผ่นดินทาง โคมล้านนาเกี่ยวพันอยู่กับการใช้จุดหรือประดับเพื่อ
ตอนเหนือของเมืองไทยหรือดินแดนล้านนาผูกพัน เป็นพุทธบูชา โดยเฉพาะใน “เทศกาลยี่เป็ง” หรือช่วง
กับพระพุทธศาสนามาเนิ่นนาน หลายส่ิงตกทอดเป็น ขน้ึ ๑๕ค่าเดอืน๑๒ราวปลายฝนต้นหนาวซงึ่เป็นช่วงท่ี
ภาพศรัทธาในหลากมิติ กล่าวเฉพาะโคมล้านนา ผเู้ ฒา่ ผแู้ กท่ เี่ ครง่ ในธรรมจะไปปฏบิ ตั ธิ รรมนงุ่ ขาวหม่ ขาวทวี่ ดั
งานหัตถกรรมแสนงดงามที่เปี่ยมไปท้ังความประณีตใน อันเป็นธรรมเนียมโบราณของคนล้านนา
เชงิศลิปวัฒนธรรมและความเก่าแก่เชื่อมโยงไปในหน้า ห้วงยามแห่งยี่เป็งนี่เองท่ีสล่าหรือช่างอันมีฝีมือจะ
ประวัติศาสตร์
ประดิษฐ์โคมรูปแบบต่างๆ เพ่ือเตรียมใช้รองรับการจุดผาง
จากหลักฐานบนผืนผ้าพระบฏที่กรมศิลปากร ประทีปเพ่ือประดับประดาวัดวาอารามและตามบ้านเรือน
ค้นพบ ณ วัดดอกเงิน จังหวัดเชียงใหม่ ผ้าพระบฏ ถวายบูชาพระพุทธเจ้าเพ่ือความเป็นสิริมงคลของตนและ
ดังกล่าวมีอายุราว ๕๐๐ ปี ย้อนไปถึงสมัยพระเจ้า ชุมชน ตามพระธาตุเจดีย์ พระวิหาร หรือจุดสาคัญต่างๆ
ติโลกราช ปรากฏเป็นภาพโคมท่ีใช้ในประเพณี ในแต่ละหมู่บ้านจึงเต็มไปด้วยโคมล้านนาหลายรูปแบบ
ทางศาสนา ซึ่งเป็นหลักฐานแสดงถึงการมีอยู่ของ สะท้อนให้เห็นเชิงช่างและการสร้างสรรค์ของสล่ามา
โคมล้านนามาแต่ดง้ัเดมิ
รุ่นต่อรุ่น
29
เมษายน-มถิ นุ ายน ๒๕๕๙