Page 24 - Culture2-2016
P. 24


































กระบวนการผลิดกลองยาวจากไม้ขนุนของชาวหมู่บ้านตลาด อาเภอวาปีปทุม 
จังหวัดมหาสารคาม หนึ่งในแหล่งผลิตกลองยาวอันมีชื่อเสียง





เถดิ เทงิ กลองยาว ประกอบด้วย กลองรํา คือผู้ตีกลอง 

และรา่ ยรา อวดลลี าไปพรอ้ มกนั กลองยนื คอื มอื กลองทเี่ นน้ การ 


ให้จังหวะนาคนตีเครอื่งให้จงัหวะประกอบเช่นฉิ่งฉาบกรบั 

และฆ้อง ผู้ร่วมขบวนแต่งกายอย่างไทยพ้ืนถ่ิน เช่น ผู้ชายใส่ 

กางเกงกระบอกครึ่งแข้ง มีผ้าขาวม้าคาดเอว สวมเส้ือคอกลม 


หรอืม่อฮ่อมผู้หญิงนุ่งผ้าซ่ินพาดผ้าสไบทบัเสือ้ปล่อยผมและ 

ทัดดอกไม้ ทุกคนร้องเพลงประสานกับเสียงกลองอย่างชวน 


สนุกสนาน

สา เนยี งเสยี งของการตกี ลองยาวทนี่ ยิ มใชบ้ รรเลงกนั เปน็ 

หลักมักจะประกอบด้วย ๔ เสยี งดังนี้


“ปะ๊ ” เปน็ เสยี งทไ่ี ดจ้ ากการใชฝ้ า่ มอื ตลอดจนถงึ ปลายนวิ้ 

ตีลงบนหนังหน้ากลอง ตีลงตรงขอบมุมแล้วกดมือแนบหนัง 

หน้ากลอง


“เพ่ิง” ได้จากการตีโดยน้ิวมือทั้งส่ีแนบชิดติดกัน ตีลง 

บรเิวณขอบถงึใจกลางหนังหน้ากลอง


“บ่อม” ใช้กาปั้นหรือกามือตีลงตรงใจกลางหนังหน้า 

กลองหรือที่เรียก จ่ากลอง ตีแล้วยกมือออกทันทีจะทาให้เสียง 

ก้องกังวาน


“ต๊ิก” เป็นเสียงสอดแทรกเพ่ือความไพเราะและยังเป็น 

การนาจงัหวะการบรรเลงร่วมด้วยการตีต่อเน่อืง“ต๊กิต๊กิตกิ๊” 

ใช้นิ้วมือขวาตีลงที่ขอบหนังหน้ากลอง ส่วนน้ิวมือซ้ายจะแนบ 


หน้ากลองเอาไว้


22




   22   23   24   25   26