Page 27 - Culture1-2016
P. 27
สลักรูปนูนต่ําาบนผนังระเบียง จุดเรมิ่ต้นท่มีา
ภาพขบวนแห่ของชาวสยามพระปรางคว์ดัอรุณราชวราราม
ปราสาทนครวัด มจี ารึกระบุ “เสยี มกกุ ” หมายถงึ เสียมกก๊ ของเมอื งบางกอก พระปรางค์ทรงจอมแหโดดเด่น
หรอื กลมุ่ ชาวสยามโบราณ
ริมแม่น้ําาเจ้าพระยา ได้รับอทิ ธพิ ลจากปราสาทขอม
ภาพสลกั นมี้ ีอายุราวปี พ.ศ. ๑๖๕๐
ก่อนมาประยุกตก์ ลายเป็นรูปแบบเฉพาะตัว
“สยาม” หรอื ประเทศไทยในอดตี
เมื่อมองย้อนไปในรายละเอียดที่หลงเหลือทั้งความเป็นมาของโบราณสถานยุคร่วมสมัย
กับชวา จาม ขอม และพม่า จะได้เห็นว่าสยามก็ร่วมราก ร่วมนครา อย่างมีหลักฐานอันสวยงาม
ใหเ้ หน็ แมจ้ ะผา่ นมานบั พนั ปี ยอ้ นไลเ่ รยี งลําาดบั ตามยคุ สมยั ประวตั ศิ าสตรศ์ ลิ ปะของไทย กจ็ ะเหน็
เดน่ ชดั ยงิ่ ขนึ้ อกี ศลิ ปะทวารวดี รว่ มรากรว่ มสมยั กบั อาณาจกั รพกุ าม ในชว่ งพทุ ธศตวรรษที่ ๑๑-๑๖
ศิลปสถาปัตยกรรมในสมัยนี้ได้รับอิทธิพลในศาสนาพราหมณ์-ฮินดูและศาสนาพุทธโดยตรง
จากลังกาและอินเดียช่วงยุคสมัยแรกๆ แต่ระยะต่อมาถึงช่วงปลายยุคนี้ ศิลปะแขนงต่างๆ
ก็เริ่มมีรูปแบบไปเป็นศิลปะขอม และอิทธิพลในศาสนาพราหมณ์-ฮินดูก็เข้าสู่สังคมสยามมากขึ้น
ศิลปะศรีวิชัย ที่ครอบครองบริเวณภาคใต้ของประเทศไทย ร่วมราก ร่วมสมัย หรือ
นับร่วมนครากับอาณาจักรชวาโบราณ ช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๓-๑๘
ศิลปะลพบุรี หรือบางคนเรียก ศิลปะขอม ช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๖-๑๘ เป็นศิลปะใน
อาณาจักรขอมโบราณเดียวกันกับที่ปรากฏในเขตแดนประเทศกัมพชูาปัจจุบันสําาหรับในประเทศ
ไทยมีโบราณสถานสําาคัญร่วมสมัยนี้มากมาย กระจายทั่วบริเวณที่ราบสูงอีสาน อาทิ ปราสาทหิน
พมิ าย,ปราสาทเขาพนมรุ้ง,ปราสาทเมืองต่ําา,กลุ่มปราสาทตาเมือนและขณะเดียวกันในประเทศ
กัมพูชามี นครวัด-นครธม ที่ยังยืนหยัดอยู่อย่างยิ่งใหญ่
ความงดงามในศาสนาพราหมณ์-ฮินดูและพุทธยังอยู่อย่างแน่นแฟ้นกับสังคมอาเซียน เป็น
มรดกแผ่นดิน เป็นศิลปะสถาปัตยกรรมล้ําาค่า เป็นรากวัฒนธรรมร่วมที่หยั่งลงลึก เกี่ยวพันซับซ้อน
สอดคล้องในแนวคิดของเรามานานเกินกว่าสหัสวรรษ จนนับเป็นรากแห่ง “อาเซยี น”
25
มกราคม-มนี าคม ๒๕๕๙