Page 121 - CultureMag2015-3
P. 121

สวธ. รณรงค์การใช้ผา้ ไทย                                                 การประชมุ ครดู นตรแี ละนาฏศิลป์อาเซยี น
จดั รายการ “สบื สายใย...                                                 รว่ มพฒั นาทกั ษะการสอน  
ผา้ ไทย-ผา้ อาเซยี น” 
                                                                               กระทรวงวัฒนธรรม โดย กรมส่งเสริมวัฒนธรรม และ สมาคมครูดนตรี
      เม่ือวันท่ี ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๕๘ นางฉวีรัตน์                            (ประเทศไทย) จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการดนตรีและนาฏศิลป์อาเซียน ส�ำหรับ 
เกษตรสุนทร ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจ�ำกระทรวงวัฒนธรรม                          ครูดนตรี คร้ังที่ ๓ ระหว่างวันท่ี 
นางสาวนันทิยา สว่างวุฒิธรรม อธิบดีกรมส่งเสริม                            ๑๖–๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ศูนย์
วัฒนธรรม  นางลภามาศ ตัณฑวรรธนะ ผู้ช่วยกรรมการ                            วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย  การจัด
ผู้อ�ำนวยการใหญ่ ส�ำนักโทรทัศน์ บริษัท อสมท จ�ำกัด                       ป ร ะ ชุ ม เ ชิ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร ใ น ค รั้ ง น้ี มี
(มหาชน) และนายเผ่าทอง ทองเจือ ในฐานะผู้ด�ำเนิน                           วิทยากรจากประเทศสมาชิกอาเซียน
รายการ  ร่วมกันแถลงข่าวเปิดตัวรายการ “สืบสายใย...                        จ�ำนวน ๑๐ ประเทศ มาให้ความรู้
ผา้ ไทย-อาเซยี น” เพอ่ื สง่ เสรมิ การใชผ้ า้ ไทย ณ อาคารใหม่             ความเข้าใจ และแลกเปล่ียนเรียนรู้
พระท่นี ง่ั อนนั ตสมาคม                                                  ด ้ า น ด น ต รี แ ล ะ น า ฏ ศิ ล ป ์   โ ด ย ค ร ู
                                                                         ถือเป็นบุคคลส�ำคัญท่ีจะช่วยพัฒนา
      กระทรวงวัฒนธรรมได้ด�ำเนินนโยบายรณรงค ์                             เยาวชนให้มีความรู้ ความเข้าใจใน
ส่งเสริมการใช้ผ้าไทย เพ่ือรักษาเอกลักษณ์การแต่งกาย                       ประชาคมฯ อาเซียน  ครูจึงต้องมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องต่างๆ ของอาเซียน และ
ประจ�ำชาติให้เป็นท่ีแพร่หลาย  อีกทั้งการใช้ผ้าไทยยัง                     มีทักษะเก่ียวกับศิลปวัฒนธรรมทางดนตรีและนาฏศิลป์ เพื่อจะได้น�ำไปถ่ายทอดให้
สามารถชว่ ยกระตนุ้ เศรษฐกจิ ไดอ้ กี ทางหนงึ่   ไมว่ า่ จะเปน็            นักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยได้รับความสนใจจากครูดนตรีและครูนาฏศิลป ์
ชาวบ้านผู้ทอผ้า ผู้ประกอบการด้านผ้าที่เก่ียวข้อง ทั้งใน                  เข้าร่วมประชมุ เป็นจำ� นวนกว่า ๒๔๐ คน  
ระดับชุมชนไปจนถึงระดับอุตสาหกรรม  กรมส่งเสริม
วฒั นธรรม (สวธ.) ไดส้ านตอ่ นโยบายดงั กลา่ ว ดำ� เนนิ การ                สวธ. สนบั สนุนการจัดพมิ พว์ รรณกรรม 
กระตุ้นให้คนไทยเกิดความสนใจ รวมไปถึงการสร้างค่า                          เวลา	ในขวดแกว้  ฉบบั ภาษาญปี่ ุ่น
นิยมให้หันมาสวมใส่ผ้าไทยอย่างต่อเน่ือง  ในปีน้ีเพื่อเป็น 
การสานตอ่ นโยบายดงั กลา่ ว จงึ จดั ทำ� รายการ “สบื สายใย...                    นางสาวนันทิยา สว่างวุฒิธรรม อธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม เป็นประธาน
ผา้ ไทย-อาเซยี น” ขนึ้  เพอื่ บอกกลา่ วเรอื่ งราวผา้ ไทยทเ่ี ชอื่ มโยง   ในงานเปิดตัวหนังสือ เวลาในขวดแก้ว ฉบับภาษาญ่ีปุ่น ที่แปลโดย อิซาโอะ ฟุจิโนะ  
กับประเทศในกลุ่มอาเซียน โดยได้รับเกียรติจากอาจารย์                       เม่ือวันที่ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ณ หอศิลป์ร่วมสมัยราชด�ำเนิน  เวลาในขวดแก้ว 
เผ่าทอง ทองเจือ นักวิชาการด้านส่ิงทอและนักสะสมผ้า                        เป็นนวนิยายที่มีเนื้อหาสะท้อนชีวิตและปัญหาของวัยรุ่นในด้านต่างๆ ท้ังครอบครัว
ระดบั แนวหน้าของประเทศไทยมาเป็นผู้ด�ำเนนิ รายการ                         ความรัก การศึกษา สังคม และการเมือง และเป็นผลงานนวนิยายเรื่องท่ี ๔ ของ
                                                                         ประภัสสร เสวิกุล ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ลงพิมพ์เป็นตอนๆ ในนิตยสาร
      ติดตามชมรายการ “สืบสายใย...ผ้าไทย-อาเซียน”                         สายทิพย์ และในปี ๒๕๒๗ เมื่อ สายทิพย์ ปิดกิจการจึงมาลงต่อจนจบในนิตยสาร นร ี
ทกุ วนั พฤหสั บด ี เวลา ๒๐.๓๐–๒๑.๓๐ น. ทางโมเดริ น์ ไนน์                 ในปี ๒๕๒๘ และพิมพ์รวมเล่มคร้ังแรกโดยส�ำนักพิมพ์ดอกหญ้า  เวลาในขวดแก้ว 
ทีวี น�ำเสนอเป็นตอนแรกในวันพฤหัสบดีที่ ๙ กรกฎาคม                         ไดร้ บั การยกยอ่ งให้เป็นหนึ่งในวรรณกรรมแห่งชาติของประเทศไทย
ศกนี้
                                                                               อซิ าโอะ ฟจุ โิ นะ ประธานบรษิ ทั  TORA (โทระ) ซงึ่ เปน็ บรษิ ทั ออกแบบสง่ิ พมิ พ์ 
                                                                         ระดับแนวหน้าของญี่ปุ่น ได้ทุ่มเทเรียนภาษาไทยและใช้ระยะเวลาในการแปล เวลา 

                                                                                                                           ในขวดแก้ว ฉบับภาษา
                                                                                                                           ญปี่ นุ่  ยาวนานถงึ  ๒๔ ปี   
                                                                                                                           หวังถ่ายทอดหนังสือ
                                                                                                                           เล่มนี้ให้ออกมาดีท่ีสุด
                                                                                                                           เพ่ือท่ีผู้อ่านชาวญ่ีปุ่น
                                                                                                                           จ ะ ไ ด ้ มี โ อ ก า ส อ ่ า น
                                                                                                                           วรรณกรรมไทยและ
                                                                                                                           เข้าใจสภาพสังคมไทย
                                                                                                                           มากยง่ิ ขนึ้

                                                                          ตลุ าคม-ธันวาคม ๒๕๕๘ 119
   116   117   118   119   120   121   122   123   124