Page 31 - Culture3-2016
P. 31
ในอินเดียยังคงห้ามทารูปคนสาหรับบูชา รูป
เคารพในระยะแรกจึงเป็นรูปต่างๆ เช่น ธรรมจักร
กวางหมอบ อันหมายถึงพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
เมอื่แสดงปฐมเทศนาในป่ามฤคทายวัน
รปู พระพทุ ธองคท์ เี่ปน็ แบบรปู มนษุ ยเ์กดิ ขนึ้
ภายหลงั หลงั พทุ ธศตวรรษท่ี ๖ เปน็ ฝมี อื ชา่ งแควน้
คันธาระและช่างเมืองมถุรา จากนั้นก็เกิดสกุล
ช่างอีกสกุลหนึ่งทางภาคใต้ของอินเดียที่เมือง
อมราวดี
ทวา่ ปราชญบ์ างทา่ นกก็ ลา่ ววา่ พระพทุ ธรปู
องค์แรกเกดิขึ้นในรัชกาลพระเจ้ากนษิกะระหว่าง
ปีพ.ศ.๖๖๒-๗๐๖เป็นฝีมอืช่างกรีกโรมนั เช่อืว่า
ได้รับอิทธิพลและพวกช่างมาจากทางเอเชีย
ตะวันตก
การสรา้ งพระพทุ ธรปู ตอ่ มาภายหลงั ลว้ นสรา้ ง
ตามมหาปุริสลักษณะท่ีเกี่ยวโยงกับพระอิริยาบถ
ของพระพุทธเจ้า เกิดเป็นปางต่างๆ เรื่อยมา
ต้ังแต่สมัยทวารวดีราว ๑๐ ปาง ต่อเน่ืองจนถึง
ศรวีิชัยลพบุรีเชียงแสนสุโขทัยอยุธยาจนมาถงึ
สมัยรัตนโกสินทร์ ที่มีปางพระพุทธรูปแตกต่าง
หลากหลายราว ๕๐ ปาง
กล่าวสาหรับประเทศไทย พระพุทธรูปที่
ตกทอดผา่ นการคา้ และเผยแผอ่ ารยธรรมทางทะเล
จากอินเดียส่วนใหญ่มักเป็นพระพุทธรูปศิลาหรือ
ไม่ก็สัมฤทธิ์ และสร้างตามคติอินเดียแบบเก่า
จนถึงสมัยสุโขทัยท่ีนับเป็นจุดแรกเร่ิมที่มีการหล่อ
พระพุทธรูปขนาดใหญ่อันมีพุทธลักษณะงดงาม
และเชื่อกันว่า การหล่อพระในประเทศไทยได้มี
จดุเรมิ่และเริ่มสร้างกนัแพร่หลายแต่คร้ังนั้น
กว่าจะเป็นพระพุทธรูปสักองค์เต็มไปด้วย
ความสมั พนั ธอ์ นั เกยี่ วเนอื่ งกบั ชา่ งปน้ั และชา่ งหลอ่
ศาสตร์สองแขนงหลอมรวมกันอย่างแยกไม่ออก
ชา่ งหลอ่ บางคนชา นาญทง้ั งานปน้ั และงานหลอ่ พระ
ซงึ่ ลว้ นแลว้ แต่เตม็ ไปดว้ ยความประณตี มขี นั้ ตอน
๔
ละเอียดไม่แตกต่างกนั
๓
29
กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๙