Page 35 - Culture2-2016
P. 35
โคมล้านนาแตกยอดเติบโตมาสู่ปัจจุบัน มีการปรับเปลี่ยน
รูปแบบ รูปทรง ลวดลาย และการตกแต่ง จากที่ใช้เพียงในพิธีการ
ทางศาสนาและงานบุญ ช่างฝีมือได้ส่งต่อทักษะในงานหัตถกรรม
ที่เต็มไปด้วยความงดงามสู่งานโคมหลากหลายชนิด มีการพัฒนา
ต่อยอด ผสมผสานโคมของต่างชาติอย่างโคมญี่ปุ่นเข้ามาให้เกิด
ความหลากหลาย โคมล้านนาถูกประยุกต์สู่การเป็นของตกแต่ง
บ้านเรือนรีสอร์ต รวมถึงเป็นสินค้าที่ระลึกที่สืบทอดภูมิปัญญา
มายาวนาน กลุ่มผู้สืบทอดงานโคมล้านนาให้เป็นรูปร่าง เป็นแหล่ง
ผลิตใหญ่อยู่ที่บ้านเมืองสาตรและบ้านสันทรายดอนจั่น พ่อครู
พ่อเฒ่าแม่เฒ่าของหมู่บ้านเล็กๆ ที่ตั้งอยู่ท่ามกลางความเรียบง่าย
ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของเชียงใหม่ยังคงต่อยอดงานฝีมือเช่นนี้
สู่ลูกหลาน
....................................................................................
จากงานฝมี อื ทถี่ า่ ยทอดวฒั นธรรมและประวตั ศิ าสตรข์ อง
ผคู้ นพนื้ ถนิ่ ลา้ นนา เปน็ ภาพศรทั ธาอนั เชอื่ มรอ้ ยอยกู่ บั พระพทุ ธ-
ศาสนา ซงึ่ ไมเ่ พยี งสรา้ งเอกลกั ษณใ์ หเ้ ทศกาลยเี่ ปง็ ของคนลา้ นนา
เตม็ ไปดว้ ยความละเอยี ดงดงาม
ทวา่ ยงั ฉายภาพของความคดิ ความเชอื่ และแรงศรทั ธาของ
ผคู้ นทใี่ ชช้ วี ติ หลอมรวมอยใู่ นนนั้ ผา่ นโคมไฟและลวดลายเกา่ แก่
บนแผน่ กระดาษทสี่ อ่ งฉายในยามคา่ คนื
๒
๑-๒โคมธรรมจกัรถกูนาํามาแขวนประดบัเรียงรายเพม่ิเสนห่ใ์ห้กบัการทอ่งเที่ยวเชงิวัฒนธรรม
33
ในงานเทศกาลโคมท่ีเมอื งเชยี งใหม่ (สายณั ห์ ช่นื อดุ มสวสั ด์ิ ภาพ) เมษายน-มถิ นุ ายน ๒๕๕๙